Page 30 - CultureMag2015-2
P. 30

ผ้าขาวมา้ ของชนดา้ มขวาน                                                 ผู้หญิงก็รู้จักน�ามาใช้สอย คลุมหัวบังแดดบังลม เป็นผ้าคลุม
                                                                         กนั เปอ้ื น ผา้ นงุ่ กระโจมอก แมล่ กู ออ่ นใชผ้ กู เปลแกวง่ ไกวหรอื
      จ�าเป็นต้องเล่าว่า “ผ้าขาวม้า” ไม่ใช่ “สมบัติส่วนตัว”              ใช้เป็นผ้าอ้อมให้ทารกก็มี เก่าแล้วยังดัดแปลงเป็นของเล่นให้
ของชาติไทย                                                               เด็กๆ กระทัง่ ขาดก็ยังใช้ท�าความสะอาดเครือ่ งใช้ เป็นผ้าขี้ริว้
                                                                         ปัดฝ่นุ ถเู รอื น เปน็ พรมเช็ดเท้าไม่รูจ้ บ
      แม้ชื่อเรียกยังไม่ใช่ค�าไทยแท้ด้วยซ�า้  ส่วนจะมาจาก 
ค�าว่า “กามาร์บันด์” (kamarband) ในภาษาเปอร์เซีย โดย                           มากกว่าประโยชน์ใช้สอย ผ้าขาวม้ายังแสดงร่องรอย
“กามาร”์  หมายถงึ เอว “บนั ด”์  หมายถงึ รดั หรอื คาด (กามาร์+            ความเชื่อทชี่ าวบ้านมีต่อผืนผ้าด้วย อย่างในพิธีขึน้ บ้านใหม่ 
บันด์ = ผ้าคาดเอว) ซึ่งเป็นค�าเดียวกับทีใ่ ช้เรียกผ้าจีบอย่าง            ก็มักใช้ผูกเสาเอกแขวนไว้ทีข่ ื่อ ป้องกันเสนียดจัญไร ขับไล่
กว้างทผี่ ู้ชายใช้คาดเอวในภาษาฮินดีไหม ยังไม่มีหลักฐาน                   ขโมยลักวัว ควาย เป็ด ไก่ บ้างใช้ปัดข้าวในนา เชือ่ ว่าไล่นก 
ยนื ยันแน่ชดั                                                            หน ู แมลง เพลย้ี กระโดดไมใ่ หท้ �าลายขา้ ว หรอื แมแ้ ตเ่ ปน็ สมบตั ิ
                                                                         ตกทอดก็มี อย่างชาวสุรินทร์จะมีผ้าขาวม้าประจ�าตระกูล 
      เพราะแม้แต่ภาษามลายูก็เรียกผ้าพันเอวว่า “กามาร์-                   เมอ่ื ส้นิ บญุ ผอู้ าวโุ สกม็ กั จะมอบตอ่ เปน็ มรดกแกล่ กู หลาน ฯลฯ
บัน” (kamarban) ไม่มีตวั  “d” และภาษาอังกฤษก็เรียกผ้า 
รัดเอวในชุดทักซิโดด้วยค�าทอี่ อกเสียงคล้ายกันว่า “คัมเมอร์-                    ว่ากันตามจริง ถึงวันนี้จะรู้ว่ากา� เนิดผ้าขาวม้ามาจาก
บันด์” (cummerbund) ยังมีบางตา� ราอ้างว่าน่าจะเพี้ยนจาก                  ชาติไหนคงไมส่ า� คญั แล้ว
“กามาร์” (kamar) ในภาษาอหิ รา่ นซ่งึ ใชส้ อ่ื สารกนั ในประเทศ
สเปนด้วย                                                                       เพราะการอยู่ร่วมแผ่นดินไทยมานานหลายร้อยป ี
                                                                         ผูกรดั หวั ใจคนไทยไปเรยี บรอ้ ยแลว้
      แต่ไม่ว่าอย่างไรส�าเนียงทคี่ ล้ายคลึงในความหมาย
เดยี วกนั ก็ถือเป็นรหสั ร่วมวัฒนธรรมได้                                  สรรคเ์ สน้ เป็นผา้ ผืน

      บ้านเรา -ภาคกลางเรียก “ผ้าขาวม้า” ส่วนผู้เฒ่าผู้แก่                      ฝา้ ย ไหม ดา้ ยสังเคราะห์ คอื หวั ใจของผ้าขาวม้า
ในภาคอืน่ อาจเรียกด้วยภาษาถิน่ เขา เช่น ภาคเหนือเรียก                          แม้อายุการใช้งานจะมากน้อยกี่ปีขึน้ อยู่กับวิธีใช้สอย 
“ผ้าตาโก้ง” ภาคอีสานเรียก “แพรขาวม้า” หรือภาคใต้เรียก                    แต่มูลค่าย่อมต่างตามวัสดุ ผ้าทที่ อด้วยเส้นไหมคุณภาพดีจะ
“ผา้ ขาว” “ผา้ ผลดั ” ฯลฯ                                                มีราคาสงู ทีส่ ดุ  จงึ นยิ มใช้อยา่ งทะนุถนอมคลมุ บ่า-พาดไหล่
                                                                               คุณค่าจากนั้น คือนานาสีสันและลวดลายทเี่ รียงร้อย
      มผี สู้ นั นษิ ฐานวา่ คนไทยเรม่ิ ใชผ้ า้ ขาวมา้ กนั ต้งั แตห่ ลาย  ลงผืนผ้า ซึ่งแม้บ้านเราจะผลิตกันแทบทกุ ภาค แต่ “ขนาด
ร้อยปีมาแล้ว โดยเห็นชาวไทใหญ่ใช้โพกศีรษะก่อนจึงน�ามา                     ตาราง” และ “จา� นวนส”ี  ของดา้ ยทอกแ็ สดงอตั ลกั ษณต์ ามถ่นิ
พลกิ แพลงเปน็  “ผา้ เคยี นเอว” เวลาเดนิ ทางไกลกด็ ดั แปลงมา                    อย่างภาคกลางนิยมทอลายตารางใหญ่เหมือนกัน 
ห่ออาวุธ เก็บสัมภาระแทนย่าม มัดของแทนเชือก ปรู องนั่ง-                   ครั้นแยกทีละจังหวัดยังพบรายละเอียดต่างกันไป เช่น ชาว
นอน ม้วนหนุนแทนหมอน นุ่งอาบน�้า เช็ดร่างกาย ปัดฝุ่น-                     พระนครศรีอยุธยานิยมทอเป็นผืนเล็กแคบ ใช้ด้ายสองสีทอ
แมลง ซับเลือดแทนผ้าพันแผล ฯลฯ จนกลายเป็นว่าชาว                           สลบั ดา้ น ใหป้ ลายดา้ นยาวท้งั สองขา้ งเปน็ ลายรว้ิ สลบั ส ี  ชาว
ไทใหญเ่ หน็ เราใช้ประโยชนห์ ลากหลายจึงทา� ตามอยา่ ง                      นครสวรรคน์ ยิ มใชฝ้ า้ ยและสดี า้ ยตดั กนั   ชาวกาญจนบรุ ใี ชด้ า้ ย
                                                                         สส่ี ที อสลบั กนั   ชาวชยั นาทนยิ มทอดว้ ยไหมประดษิ ฐ ์ (เสน้ ใย
      ยังมีร่องรอยจากจิตรกรรมในสมุดภาพไตรภูม ิ                           จากฝ้ายผสมโทเร) และนิยมทอเป็นลายสกอตต์ ลายทาง 
สมัยกรุงศรีอยุธยา (ราวต้นพุทธศตวรรษท ี่ ๒๒) ปรากฏการ                     หรือลายสี่เหลี่ยม  ทขี่ ึน้ ชื่อคือของต�าบลเนินขาม เรียกว่า 
แต่งกายของชายอโยธยาทใี่ ช้ผ้าขาวม้าพาดบ่า คาดพุง ทัง้
คลอ้ งคอตลบห้อยชายผา้ ทั้งสองขา้ งไวด้ ้านหลัง

      ยิง่ เมื่อเข้าสู่ยุครัตนโกสินทร์ (พุทธศักราช ๒๓๒๕-
ปัจจุบัน) ผ้าขาวม้าไม่ได้ถูกจ�ากัดการใช้เพียงชายอีกแล้ว 

28 วัฒนธ รม
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35