Page 24 - CultureMag2015-2
P. 24

กใ็ นระยะไมช่ า้ ไมน่ านมาน ้ี มผี ศู้ กึ ษาเรอ่ื งความเปน็ มา                   จะว่าด้วยหน้าทีแ่ ละรูปแบบของการประกอบวงของ 
ของซอสามสายทีน่ ่าสนใจยิง่  ด้วยท่านเป็นผู้เชีย่ วชาญใน                          ซอสามสาย การขึ้นคู่เสียงของสายนัน้ เป็นแบบโบราณสังคีต
การสีซอสามสายท่านหนึ่ง คือ ศาสตราจารย์อุดม อรุณรัตน ์                            โดยแท้ คือขึน้ ขั้นเสียงคู่สีแ่ บบเดียวกับกระจับปี่และจะเข้ ซึง่
ศษิ ยเ์ อกของ พระยาภมู เี สวนิ  (จติ ร จติ ตเสว)ี  ทา่ นสบื คน้ และ              ทา� ใหเ้ กดิ เสยี งประสานกบั เสยี งหลกั เปน็ ธรรมชาตแิ บบโบราณ 
ศกึ ษาไดว้ า่ ซอของอาหรบั -เปอรเ์ ซยี ชนดิ หนง่ึ ท่ีเรยี กวา่  “รบบั ”           โดยน�้าเสียงของซอสามสายสามารถเลียนเสียงคนขับได้ 
เป็นต้นแบบและส่งอิทธพิ ลแก่ซอสามสายของเราเป็นอันมาก                              ค่อนข้างสนิทสนม ท�าให้ผู้ขับร้องสามารถขับได้ยาวนาน 
แต่ก็ไม่เหมือนกันเสียทเี ดียว เช่นซอสามสายของไทยเรา                              โดยไม่ผิดเสียงและบันไดเสียง  ครัน้ คนขับบทใดท่อนใด 
ปรับเปลี่ยนเพิ่มสายขึ้นจากสองเป็นสามสาย และใช้สายไหม                             ซอสามสายก็สามารถบรรเลงทา� นองเดินทีเ่ ป็นลักษณะพิเศษ
เปน็ สายซอแทนสายลวดโลหะ รวมถงึ สรา้ งกะโหลกซอใหเ้ ปน็                            ของตนได ้ อยา่ งเชน่  การขบั ไมใ้ นพระราชพธิ สี มโภชชา้ งเผอื ก 
พสู ามเสา้ ดงั กลา่ วมาแลว้ แตต่ น้   เร่อื งซอสามสายน้จี งึ เปน็ มติ ิ          หรือช้าลูกหลวง เห่กล่อมในพระราชพิธีขึน้ พระอู่ของเจ้านาย
ทนี่ ่าสนใจใคร่ครวญศึกษาต่อ น่าสรรเสริญชืน่ ชมในความ                             ชั้นเจ้าฟ้า มีคนขับคนหนึง่  คนสีซอสามสายคลอคนหนึ่ง คน
กล้าหาญรักรู้ของท่าน ด้วยเป็นการเพิ่มพูนความรู้ในการ                             ไกวบณั เฑาะวค์ นหนง่ึ   นา่ จะเปน็ รปู แบบการบรรเลงท่ีเกา่ แก่
ศึกษาเรื่องดนตรขี องเราอยา่ งล้า� คา่                                            ทส่ี ุดท่ีหลงเหลืออยู่ก็เปน็ ได้

      จะแปลกอย่างไรเมือ่ ครั้งกรุงศรีอยุธยา คนอาหรับ-                                  ก็แล การเล่นหรือบรรเลงซอสามสายนัน้  มีวิธีการใช้
เปอรเ์ ซยี ตดิ ตอ่ ท�ามาคา้ ขายกบั เรามาชา้ นาน  การแลกเปล่ยี น                  คนั ชกั และการใชน้ ้วิ เพอ่ื เรยี กเสยี งวจิ ติ รพสิ ดารซบั ซอ้ นเกนิ กวา่
ความรทู้ างวชิ าการตา่ งๆ มอี เนกประการ  หลายส่งิ หลายอยา่ ง                     ซอชนิดอื่น อาจจะเป็นด้วยความเก่าแก่ทีไ่ ด้รับการพัฒนา
ซึง่ เราน�ามาปรับใช้จนเป็นของเราเอง เช่นเสือ้ ครุยทีเ่ ป็น                       ปรับปรุงมาติดต่อกันเป็นเวลานาน  นอกจากนัน้ ยังมีการ
เครอ่ื งประกอบพระราชอสิ รยิ ยศทา้ วพระยามหากษตั รยิ  ์ จนถงึ                     ประสานเสียงโดยสีสายคู่ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์  การใช้คันชักและ
การแตง่ องคเ์ จา้ นาค จนถงึ การสวมประกอบวทิ ยฐานะในการ                           นิว้ มีชื่อเรียกเฉพาะ เช่น สีแบบไกวเปล สีแบบฉุยฉาย นิว้ ชุน 
รับปริญญาของสถาบันอดุ มศึกษาหลายแห่ง กระทงั่ ถึงพวก                              นิว้ แอ ้ เป็นตน้
ทรงเจา้ เขา้ ผที ่ใี ชก้ นั เกรอ่ ในทกุ วนั น้ ี  หรอื แกงมสั มน่ั ซ่งึ สบื ตอ่
มาจนเรยี กไดว้ า่ เปน็ อาหารประจา� ชาตเิ รากม็ คี วามเปน็ มาโดย                        หากใชค้ นั ชกั และน้วิ ไมถ่ กู ตอ้ งจะไมไ่ ดเ้ สยี งตามตอ้ งการ 
เดยี วกนั น ้ี ไมเ่ หน็ จะเสยี ความเปน็ คนไทยท่ตี รงไหน มแี ตเ่ หน็              ท�าให้เสียรสชาติของเพลงไปมากมาย เฉพาะการสีประสาน 
ด้านพัฒนาอารยะ ประจักษ์ถึงความเฉลียวฉลาดทสี่ ามารถ                               สายคู่ ถา้ ไมไ่ ด้ศกึ ษาและทา� เกนิ พอดี จะรกหูเปน็ ทีส่ ดุ
มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และความต้องการ จน
สนิทสนมเป็นเนอ้ื เดียวกนั  พ้นจากความตะขิดตะขวงนับดว้ ย                                ผู้ทีเ่ ล่นซอสามสายทีม่ ีชื่อเสียงและมีคุณูปการในอดีต
รอ้ ยป ี ดงั ทีร่ ูเ้ ห็นและยอมรบั กันโดยท่วั ไป                                 ระยะใกล้และปัจจุบันมีจ�านวนทีน่ ับถ้วน เช่นทีเ่ ป็นพระบรม-
                                                                                 วงศ์หรือองค์พระมหากษัตริย์ก็มี พระบาทสมเด็จพระพุทธ-
      เร่อื งซอสามสายน้ยี งั ควรศกึ ษาโดยใชห้ ลกั ฐานภายนอก                      เลศิ หลา้ นภาลยั   สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้  กรมพระยาบา� ราบปรปกั ษ ์
จากประเทศเพื่อนบ้านใหม้ ากขึน้ ดว้ ย โดยเฉพาะทางกมั พูชา                         พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงบดนิ ทรไพศาล  พระเจา้ บรม-
ซึง่ มีซอสามสาย เรียกว่า “ตรัวขะแมร์” (ซอเขมร) ดร. อุทิศ                         วงศ์เธอ กรมหมืน่ ทวิ ากรวงศ์ประวัติ พระองค์นี้มีทางเดี่ยว 
นาคสวัสดิ ์ เคยเล่าไว้ว่าครูของท่านคือคุณหลวงประดิษฐ์-                           เพลง “สุดสงวน” เฉพาะพระองค ์ และทรงถนัดซา้ ย
ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซึง่ เคยไปสอนดนตรีทีก่ ัมพูชา 
ได้แนะน�าการใช้นิว้ บางอย่างตามแบบของเขา ซึง่ เป็นผลด ี                                ทีโ่ ด่งดังและมีพระคุณูปการยิ่งคือ สมเด็จฯ เจ้าฟ้า 
ต่อคุณภาพเสียงของซอสามสาย  เรื่องนีห้ ากมีผู้ติดตาม                              กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ
คน้ ควา้ ตอ่ ก็หมายได้ว่าคงจะเพ่ิมพูนความรใู้ หแ้ ก่เราย่งิ ๆ ข้ึน
                                                                                       พระอาญามิพ้นเกล้าฯ ในรัชกาลนีก้ ็มีพระราชขัตติย-
                                                                                 นารีพระองค์หนึ่ง ซึง่ ทรงเป็นหลักชัยร่มโพธิไ์ ทรไพศาลแก่
                                                                                 เหล่านักดนตรีไทย คือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยาม-

22 วัฒนธ รม
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29