Page 19 - CultureMag2015-2
P. 19

สวนกหุ ลาบ (วทิ ยาลยั ในวงั หญิง) เม่อื ป ี ๒๕๒๙ และวทิ ยาลยั        บรรณานุกรม
ในวงั ชาย ในป ี ๒๕๓๒  ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคอ์ นรุ กั ษแ์ ละเผยแพร่      จิตรลดา, โรงเรียน. จิตรลดารวมใจ. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์
วิชาช่างประดิษฐ์แบบงานช่างหลวงแก่ประชาชนทัว่ ไป ซึ่งยัง                พริ้นต้งิ กรพุ๊  จา� กดั , ๒๕๓๔.
ประโยชน์ในการสืบสานงานช่างโบราณและสร้างอาชีพให้แก่                   จิตรลดา, โรงเรียน และอักษรศาสตรบัณฑิต รุ่นท ี่ ๔๑ แห่งจุฬา-
ผเู้ รียนด้วย                                                          ลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทอสีเทียบฝัน จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ใน
                                                                       สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร.ี  กรุงเทพฯ : 
      พระองค์ทรงส่งเสริมงานศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นผ่าน                    โรงเรียนจิตรลดาและอักษรศาสตรบัณฑิต รุ่นที ่ ๔๑, ๒๕๓๘.
โครงการตามพระราชดา� รติ า่ งๆ หลายโครงการ เชน่  โครงการ              นายร้อยพระจุลจอมเกล้า, โรงเรียน. ทลู กระหม่อมอาจารย์.
สง่ เสรมิ อาชพี  กองทุนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดาร          กรงุ เทพฯ : โมเดอรน์ อนิ เตอร์เพรส, ๒๕๓๔.
เป็นต้น พร้อมกันนีท้ รงจัดหาตลาดด้วยการรับงานศิลป-                   วศิ ษิ ฏศลิ ปนิ . กรงุ เทพฯ : สา� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต,ิ  
หตั ถกรรมและผลติ ภณั ฑจ์ ากโครงการพระราชดา� รเิ หลา่ น้นั วาง          ๒๕๔๙.
จ�าหน่ายในร้าน “ภูฟ้า” เป็นการสร้างรายได้และสืบสานงาน                ศิลปากร, มหาวิทยาลัย. ศิลปกรรมฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตน-
ศิลปหัตถกรรมท้องถิน่  เช่น งานทอผ้า งานจักสาน เป็นต้น                  ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี กรงุ เทพฯ : หอศลิ ป ์ มหาวทิ ยาลยั
ไม่ให้สญู ไปตามกาลเวลา                                                 ศิลปากร, ๒๕๔๖.
                                                                     สริ ชิ ยั ชาญ ฟกั จา� รญู . “นานาสงั คตี ช้นั  เชงิ ชาญ พระปรชี าสามารถดา้ น
      พระอัจฉริยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมข้างต้นเป็นเพียง                    ดนตรีและนาฏศิลป์.” ใน วิศิษฏศิลปิน. กรุงเทพฯ : ส�านักงาน
บางสว่ นเสย้ี วแหง่ พระปรชี าสามารถของสมเดจ็ พระเทพรตั น-              คณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาต,ิ  ๒๕๔๙. หนา้  ๓-๑๖. 
ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี องคว์ ศิ ษิ ฏศลิ ปนิ  ผเู้ ปน็ แมแ่ บบ  อักษรศาสตรบัณฑิต รุ่นที ่ ๔๑ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มณี
ของการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ  พระองค์ทรง                       พลอยร้อยแสง รวมพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราช-
น�าองค์ความรู้จากหลายๆ ศาสตร์มาผสานประโยชน์ เพื่อ                      สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณิชย์, 
พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์                  ๒๕๓๓.
ศลิ ปวฒั นธรรมไทย  ดงั น้นั ตง้ั แตป่  ี ๒๕๓๘ เปน็ ตน้ มา รฐั บาล    www.sirindhorn.net
ได้ก�าหนดให้วันคล้ายวันพระราชสมภพ ๒ เมษายนของทกุ ปี 
เป็น “วันอนุรักษ์มรดกไทย” ด้วยความส�านึกในพระมหา
กรุณาธิคุณทีท่ รงมีต่อการธ�ารงรักษาและเผยแพร่มรดก
วัฒนธรรมไทยตลอดมา 

     และทรงเป็นแบบอย่างให้ปวงชนชาวไทยเห็น
คณุ ค่าและภาคภูมใิ จในศลิ ปวฒั นธรรมของชาตสิ บื ไป 

                                                                     เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๘ 17
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24