Page 23 - CultureMag2015-2
P. 23

ทแรกา่เจบา้วข่าอสงวสนวมนะนพน้ั รา้ วของผูใ้ ดมตี ้นที่        วัสดุทงั้ ปวงล้วนเป็นของต้องห้ามชัดเจน ดังปรากฏเรือ่ งเล่า 
                                                        ว่าเมือ่ ครัง้ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล
                                                        ท่ ี ๒ หากทรงทราบวา่ สวนมะพรา้ วของผใู้ ดมตี น้ ท่ีกะลาใชท้ �ากะโหลก
                                                        ซอสามสายได้ จะทรงพระกรุณาฯ  พระราชทาน “ตราภูมิคุ้มห้าม” 
                                                        แก่เจ้าของสวนนั้น มิให้ต้องเสียอากรสวน ด้วยเหตุทที่ รงเป็นเอก 
                                                        อัครมหาศิลปิน ช�านิช�านาญในการทรงซอสามสายเป็นอย่างยิง่  จน
                                                        เลอ่ื งลอื เลา่ ขานเปน็ ต�านานมาจนทุกวนั น้ ี เชน่ วา่ คนื หนง่ึ ทรงพระสบุ นิ
                                                        ไปว่าได้ทรงฟังเพลงสวรรค์เพราะพริ้งจับพระราชหฤทยั  พลันตืน่
                                                        บรรทม ทรงจ�าได้ก็เรียกซอสามสายมาทรงทบทวนได้ตลอดเพลง 
                                                        ให้ชื่อว่า เพลง บุหลันลอยเลือ่ น หรือเพลง ทรงพระสุบิน  เพลงนีจ้ ึง
                                                        เปน็ เพลงหนง่ึ ประจ�าสา� หรบั ซอสามสาย และวา่ ซอคนั ทรงคพู่ ระหตั ถ ์
                                                        พระราชทานนามว่า “สายฟา้ ฟาด”  

                                                              ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล
                                                        ที่ ๕ เม่ือมีด�าริจะต้องหาเพลงสรรเสริญพระบารมีขึน้ ตามแบบนิยม
                                                        ของประเทศทางยุโรป เพลงนี้ก็ได้รับการคัดเลือกพิจารณาอยู่เพลง
                                                        หนง่ึ  ใชบ้ รรเลงเปน็ เพลงคา� นบั  เรยี กกนั วา่  “เพลงสรรเสรญิ พระบารมี
                                                        ไทย”

                                                              ครนั้ จะวา่ ดว้ ยความเป็นมาของซอสามสายอนั ยืนยนั ไดแ้ นช่ ดั
                                                        ในทางประวัติศาสตร์ก็สุดปัญญา แต่ก็มีท่านแต่ก่อนเช่น อาจารย์
                                                        มนตรี ตราโมท ครูใหญ่ทางคีตศิลป์ไทย เสนอขึน้ ว่ามีข้อความใน 
                                                        ไตรภมู พิ ระรว่ ง กลา่ วชน่ื ชมบารมขี องสมเดจ็ พระมหาจกั รพตั ราธริ าช
                                                        ว่า “ลางจ�าพวกดีดพิณและสีซอพุงตอแลกันฉิ่งริงร�า” ท่านสงสัย
                                                        ว่า “ซอพุงตอ” นี้อาจเป็นชื่อซอสมัยสุโขทยั   ทว่าบางท่าน เช่น 
                                                        มหาแสง มนวทิ รู  แยง้ วา่  “พงุ ตอ” น้นั หมายถงึ กลองยาว  แมก้ ระนน้ั  
                                                        ค�าว่า “ซอ” ทีเ่ หลืออยู่ ท่านอาจารย์มนตรีก็สันนิษฐานว่าน่าจะ 
                                                        หมายถึงซอสามสาย ซึง่ โบราณคงเรียกว่า “ซอ” เฉยๆ กระทงั่ เมือ่ มี 
                                                        ซออู้ซอด้วงของจีนทีม่ ีสองสายเข้ามาภายหลัง จึงต้องมีค�าก�ากับ 
                                                        เรียกว่า “ซอสามสาย” ตามลักษณะทมี่ ีสามสาย ท่านผู้อืน่ ต่อๆ มา 
                                                        เช่น ดร. อทุ ศิ  นาคสวสั ด ิ์ กว็ า่ สอดคลอ้ งกันตามมา  

                                                              คร้ันต่อมาไดเ้ หน็ รปู ซอรอื บบั  (rebab) ของฝ่ายมุสลิม  ทงั้ ใน
                                                        ภาคใต้ของไทย มลายู และอินโดนีเซีย มีลักษณะคล้ายกันหรือ
                                                        ประเภทเดียวกันกับซอสามสาย เช่น รือบับทีใ่ ช้บรรเลงในการแสดง 
                                                        มะโยง่ ทางปัตตานี เพอื่ บ�าบดั ผมู้ อี าการเจบ็ ไขไ้ ดป้ ่วยโดยไมร่ ตู้ น้ สาย
                                                        ปลายเหตุ จึงเห็นควรว่าน่าจะมีการศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึ้งและ 
                                                        เที่ยงธรรมเกี่ยวแก่ซอน ้ี

                                                        เมษายน-มถิ ุนายน ๒๕๕๘ 21
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28