Page 16 - CultureMag2015-2
P. 16

(๔) ภาพปะปิด หรือ scrapbook สมเด็จพระเทพ-                                สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสร้างสรรค์งาน                           ทรงรับราชการเป็นอาจารย์สอนสาขาวิชาประวัติศาสตร์
ประเภทนไ้ี วจ้ า� นวนหนง่ึ  ซง่ึ บางสว่ นไดร้ บั คดั เลอื กมาจดั พมิ พ์  โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อันเป็นอาชีพทที่ รง
เป็นสมุดบันทกึ  ปะปิดพิจิตรวาร (๒๕๕๓)  งานฝีพระหัตถ์                     ภาคภูมิใจ  นอกจากจะเตรียมการสอนด้วยพระองค์เอง
ชุดนีท้ รงใช้ทงั้ ภาพถ่าย สติกเกอร์ ภาพวาดฝีพระหัตถ ์                    ทุกครัง้ แล้ว พระองค์ยังให้ความส�าคัญแก่การเสด็จฯ น�า
และลายพระหัตถ์  ประกอบลงในหน้ากระดาษ เป็นเสมือน                          นักเรียนนายร้อยไปทศั นศึกษายังแหล่งประวัติศาสตร์ทัง้ ใน
ภาพบันทกึ การเสด็จฯ เยือนสถานทหี่ รือประเทศต่างๆ และ                     ประเทศและตา่ งประเทศ โดยจะทรงบรรยายดว้ ยพระองคเ์ อง
เร่อื งราวตา่ งๆ                                                         เสมอ ดงั ท่ีทรงรับสงั่ ว่า 

เมธศี ลิ ปศาสตร ์ :                                                            “การออกไปจะท�าให้เห็นพื้นทที่ แี่ ท้จริงว่าอะไรเกิดขึ้น
                                                                         ตรงไหน จะชดั เจนกวา่ การอา่ นตวั อกั ษร แตบ่ างแหง่ เราไมอ่ าจ
พระผเู้ ปน็ ปราชญด์ า้ นประวัตศิ าสตร์                                   ไปได้ เราก็ต้องใช้สื่อการสอนอื่นๆ เช่น รูปภาพ สไลด์ หรือ
และศิลปวฒั นธรรม                                                         วดิ โี อ แตว่ า่ ในชว่ งไหนท่อี อกไป... นอกจากจะไดร้ บั ขอ้ เท็จจรงิ
                                                                         แลว้ ยงั ไดค้ วามรสู้ กึ  และบรรยากาศ และถา้ เปน็ คนชา่ งสงั เกต
      ในระดับอดุ มศึกษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ                         จะเหน็ ชวี ิตความเป็นอยู่ของคน เกดิ จินตนาการได้” 
สยามบรมราชกุมารี ทรงเลือกเรียนสาขาวิชาประวัติศาสตร์
เป็นวิชาเอก  ต่อมายังทรงส�าเร็จการศึกษาศิลปศาสตรมหา                            พระราชด�ารัสนีส้ ะท้อนพระอุปนิสัยใฝ่เรียนรู ้
บัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาตะวันออก จากมหาวิทยาลัย                          กระตือรือร้นรับสิง่ ต่างๆ มาผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์
ศลิ ปากร ในป ี ๒๕๒๒ และอกั ษรศาสตรมหาบณั ฑติ  สาขาวชิ า                  วิพากษ์ เกิดเป็นความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ต่างๆ อันเป็น
บาล ี -สนั สกฤต จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั  เม่อื ปกี ารศกึ ษา          วิธกี ารทพี่ ระองค์ทรงสั่งสอนลูกศิษย์ให้รู้จักคิด ตัง้ ค�าถาม
๒๕๒๔  ต่อมาทรงเข้าศึกษาต่อระดับดุษฎีบัณฑิต ณ                             ช่างสังเกต
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร ส�าเรจ็ การศกึ ษา
สาขาพฒั นศึกษาศาสตร์ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๒๙                                        พระองค์ยังพระราชทานแนวพระราชด�าริด้านการ
                                                                         อนุรักษ์แก่หน่วยงาน องค์กรต่างๆ และพระราชด�าริจัดตั้ง
                                                                         โครงการตา่ งๆ โดยประยกุ ตง์ านอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมเขา้ กบั การ
                                                                         พัฒนา เช่น มีพระราชด�าริตัง้ โรงเรียนผู้ใหญ่พระต�าหนัก

1๔ วฒั นธ รม
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21