Page 90 - CultureMag2015-1
P. 90
ลงหลักปกั ฐาน
ท�านอง รุ่งสีทอง ครูช่างวัย ๗๕ ปี “คนดีศรีเมืองชล”
(๒๕๓๗) และผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม (ช่างทอง)
ปี ๒๕๓๘ จากศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดชลบุรี เล่าว่า บิดาชื่อ
นายซินเหลีย่ น แซ่ลี ้ เป็นชาวจีนแคะทีเ่ ดินทางออกจากเมือง
จีนในช่วงแร้นแค้น มาพักอยู่กับพี่ชายทเี่ ดินทางเข้ามาก่อน
และพา� นักอยูก่ ับกลมุ่ จนี แคะด้วยกันในแปดริว้ (ฉะเชิงเทรา)
คนจนี แคะมกั ประกอบอาชพี ทางชา่ งฝมี อื เชน่ ชา่ งตดั
เสอ้ื ชา่ งทา� รองเทา้ และชา่ งทอง บดิ าจงึ มาเปน็ ชา่ งในรา้ นทอง
“แม่ยิ้ม” เช่นเดียวกับชาวจีนแคะอกี หลายคน ต่อมาพีช่ าย
บิดาทีเ่ รียกกันทวั่ ไปว่า “เจ๊กจมูกแดง” ย้ายมาตัง้ ถิน่ ฐานใน
อ�าเภอพานทองอนั เป็นเขตติดต่อกับแปดริว้ จึงย้ายตามมา
ด้วย
สมยั นน้ั คนสว่ นใหญย่ งั เรยี กยา่ นน้วี า่ “ทา่ ตะกดู ” และ
รับรู้กันว่าเป็นตลาดขนถ่ายสินค้าทางการเกษตรจากเขต
อ�าเภอพนัสนิคมมาลงทางน�า้ ในคลองทเี่ ป็นสาขาของแม่น�า้
บางปะกง
ก่อนปี ๒๕๐๐ พานทองยังเป็นกลุ่มบ้านร้านตลาด
เล็กๆ รายล้อมไปด้วยพืน้ ทีท่ �านา ครั้นเก็บเกีย่ วเสร็จแล้ว
ชาวนาก็จะมาซื้อทอง คนพานทองรู้จักบิดาของครูทา� นอง
จากค�าว่า “อาสุก” ซึ่งเป็นค�าเรียกอาผู้ชาย (น้องชายพ่อ)
ในภาษาจีนแคะ เลยพากันเรียกว่า “อาสุข” หรือ “ลุงสุข”
ในภาษาไทย แต่ชือ่ ทีท่ า� ให้คนรู้จักมากกว่าก็คือ “แม่เกียว”
ภรรยาของลุงสุข ผู้รับรองลูกค้าอยู่หน้าร้านทองทีใ่ หญ่ทสี่ ุด
ในพานทอง เมื่อสิน้ ฤดูเก็บเกีย่ วข้าวคือช่วงปลายปีต่อต้นปี
ผ่านตรุษจีน ไปจนถึงสงกรานต์ ลูกค้าร้านทองจะคึกคักเป็น
พิเศษ
เกิดในพานทอง
เด็กชายทา� นอง รุ่งสีทอง เกิดปี ๒๔๘๓ เมือ่ จบ ป. ๔
อายุ ๑๓ ปี ก็เริ่มฝึกหัดงานช่างทองโดยสืบทอดจากบิดา พี่
น้องทัง้ หมดเจ็ดคน ชายห้า หญงิ สอง ได้รับการฝึกให้ทา� ทอง
ทุกคน ยกเว้นพีส่ าวคนโตทตี่ ้องดูแลงานบ้าน ด้วยความท ี่
88 วัฒนธ รม