Page 93 - CultureMag2015-1
P. 93

ยนิ ด ี  ดว้ ยเหตนุ ้จี งึ ท�าใหค้ รทู า� นองไมเ่ คยประสบปญั หาวกิ ฤต     ศิลปะชา่ งทอง
ในวิชาชีพนีต้ ลอดชีวิต  สิง่ ส�าคัญทคี่ รูยึดเป็นหลักในการ
ท�างานมีเพียงสองประการคือ ประดิษฐ์งานให้ถูกใจผู้ว่าจ้าง                         เมื่อยุคสมัยเปลี่ยน เทคโนโลยีพัฒนาขึน้ ทกุ ทาง สือ่
และท่ีสา� คญั คอื ตอ้ งซอ่ื สตั ย ์ คอื รกั ษาท้งั ฝมี อื และคณุ ภาพทอง   ตา่ งๆ ทา� ใหค้ นท่ัวประเทศรจู้ กั ชอ่ื เสยี งของชา่ งทา� ทองโบราณ
ไมโ่ กงน้า� หนกั ทอง เทา่ น้กี จ็ ะผกู ใจผคู้ นและสรา้ งความเชอ่ื ถอื     ทีพ่ านทอง  ฤดูกาลผลิตทางการเกษตรจึงไม่ใช่สิง่ ต้องกังวล
ให้เกิดข้นึ ได้                                                           เชน่ ในอดตี   ครทู �านองเลา่ วา่ มคี นตา่ งถน่ิ ท้งั ในกรงุ เทพฯ และ
                                                                          จังหวัดห่างไกลเช่นเชียงใหม่ ตัง้ ใจมาเป็นลูกค้าหลังจากรู้จัก
      ส่วนงานทีส่ ร้างความภาคภูมิใจทสี่ ุด คือการประดิษฐ์                 ผ่านสื่อ  นักการเมือง ข้าราชการชั้นสูง และผู้มีชื่อเสียงใน
ลายประคา� โปรง่  ลายสงั วาลกระดมุ  และลายกาญจนา ผลงาน                     สงั คมกไ็ ด้สนับสนุนงานฝีมือน้อี ยเู่ ป็นระยะ ทัง้ เก็บไว้เองและ
เหลา่ น้คี ดิ ราคาคา่ ฝมี อื มากกวา่ นา้� หนกั ทองคา� เพราะเปน็ งาน       น�าไปมอบเป็นของก�านัลแก่ผู้ใหญ่  เมือ่ รายการโทรทศั น์บาง
ประณตี  พถิ พี ถิ นั  มผี ู้สง่ั จองกันตลอดปี                             รายการที่มาถ่ายท�า นา� ไปออกอากาศ รงุ่ ข้ึนกร็ ับโทรศพั ท์กัน
                                                                          แทบไมไ่ หว บางคนไมร่ จู้ กั วา่ อา� เภอพานทองตง้ั อยทู่ ่ไี หน รแู้ ต่
      หากจะมีสิง่ ทีก่ ังวลอยู่บ้างก็คือผู้สืบทอดและจ�านวน                เพยี งว่ามีชา่ งทา� ทองโบราณอย่ใู นอา� เภอน้กี ็มงุ่ หนา้ มา
ชา่ งฝมี อื
                                                                                ทุกวันน้ีอ�าเภอพานทองมีตึกรามมากขึ้นกว่าอดีต ที่
ทายาทหตั ถศลิ ป์                                                          ว่าการอ�าเภอย้ายไปตั้งยังบริเวณทีเ่ รียกกันว่า “ตลาดใหม่” 
                                                                          ไล่เลีย่ กับการเกิดขึ้นของนิคมอุตสาหกรรม “อมตะนคร” 
      ทุกวันนีช้ ่างทองในร้านรุ่งสีทองมีอยู่ ๑๐ คน เกือบ                  บรเิ วณพน้ื ท่รี อบนอกของอา� เภอต้งั แตเ่ มอ่ื  ๒๐ กวา่ ปที ่ีผา่ นมา 
ทัง้ หมดคือคนในพืน้ ถิน่ ทที่ า� งานมานานหลายสิบปี ฝึกหัดกัน              สว่ นรา้ นทองรงุ่ สที องยงั คงยนื หยดั อยทู่ ่ตี ลาดเกา่ อยา่ งภาคภมู  ิ
ตงั้ แต่แรกรุ่นจนเข้าสู่วัยกลางคน  บ้างเคยออกไปทา� งานใน                  เปน็ ส่วนหนึง่ ท่ที �าใหค้ นรจู้ ักอ�าเภอพานทอง 
โรงงานอตุ สาหกรรมราว ๔-๕ ปี แล้วย้อนกลับมาใหม่  บาง
ช่วงมีงานมากจนทา� กันไมท่ นั                                                   ดังค�าขวัญประจ�าอ�าเภอที่ว่า “เมืองอิฐแกร่ง 
                                                                          แหล่งเกษตร เขตอุตสาหกรรม  คุณธรรมหมอพระ 
      ครทู �านองใหข้ อ้ คดิ วา่  คณุ สมบตั หิ ลกั ของชา่ งท�าทองก็        ศิลปะช่างทอง”      
คือต้องเป็นคนอารมณ์เย็นและมีสมาธิ เรียกว่าไม่ต้องไป
ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนาแตม่ าเปน็ ชา่ งทา� ทองกเ็ จรญิ สตไิ ด ้  สว่ นความ
แตกต่างของช่างรุ่นก่อนกับปัจจุบันคือช่างรุ่นก่อนไม่ค�านึงถึง
รายได้ มุ่งแต่การผลิตงานให้สวยงามและฝากฝีมือ ส่วนคน 
รนุ่ นีค้ งเปลย่ี นไปตามยคุ สมยั บา้ ง 

      ด้านผู้สืบทอดนัน้  บุตรชายทัง้ สองคนของครูท�านองก็
เปน็ ช่างท�าทองอยใู่ นร้านดว้ ย  ครูเอ่ยปากวา่ เสยี ดายเวลาอยู่
บ้างทใี่ ห้ไปเรียนจนจบด้านวิศวกรรมศาสตร์เพราะจบแล้ว 
ก็กลับมาท�าทองซึ่งเป็นความรู้อีกชุดหนึ่งต่างจากทีส่ อนกัน 
ในสถาบันการศึกษา  อย่างไรก็ตามครูก็ยังภูมิใจว่าในปี 
๒๕๕๗ ปยิ ะณฐั  รงุ่ สที อง บตุ รชาย ไดร้ บั เลอื กจากศนู ยส์ ง่ เสรมิ  
ศลิ ปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) ให้เป็น “ทายาท
หัตถศิลป์” หรือช่างฝีมือรุ่นใหม่ทีเ่ ป็นสายเลือดของครูช่าง 
เพ่อื สบื สานงานศลิ ปต์ อ่ ไป 

                                                                          มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๘ 91
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98