Page 91 - CultureMag2015-1
P. 91

ทองโบราณลายก้ามกงุ้           รู้เห็นทุกขัน้ ตอนมาตั้งแต่เกิด ได้ช่วยเหลืองานของครอบครัว
ฝกั แค และเหลียวหลังค่ ู      มาโดยตลอด และเห็นว่างานช่างฝีมือโบราณเช่นนีห้ ากไม่ท�า
มผี ้นู ิยมโดยตลอด            ก็จะสูญหายไป เส้นทางการสานต่อความรู้แขนงนีเ้ พือ่ เป็น 
ของจวิ๋  นวัตกรรมใหม่         ช่างทองอาชีพจงึ ชัดเจนมาต้งั แต่ต้น 
ท่ีครูชา่ งคดิ สร้างสรรค์ 
โดยคา� นงึ ถึงสัดส่วน               สมัยนัน้ การถ่ายทอดวิชาช่างทองเริม่ จากการให้ทา�  
ขยับเขย้ือน หรือถอด           “ซบิ ปง้ิ ” (จบั ปง้ิ /ตะปง้ิ -เครอ่ื งประดบั ใชป้ ดิ อวยั วะเพศของเดก็
แยกชนิ้ ไดเ้ หมอื นจริง       ผู้หญงิ ในอดีต) จากโลหะเงิน อันเป็นงานละเอียดทใี่ ช้เวลา
                              นานหลายเดือนเพราะต้องน�าโลหะเล็กๆ มาเรียงร้อยต่อกัน
สายสรอ้ ยลายดอกแค (เส้นนอก)   เหมือนร่างแห นับเป็นการฝึกฝนทักษะทกุ ทาง โดยเฉพาะ
และลายประคา� โปร่ง (เส้นใน)   สมาธิ ถอื เปน็  “งานคร”ู  ท่ีตอ้ งผา่ นเปน็ บทเรยี นแรก โดยมบี ดิ า
ค่าฝีมอื มากกว่าราคาทองคา�    สอนงานให้อยา่ งใกล้ชดิ  
ตอ้ งสง่ั จองหลายเดือน
                                    ขนบบางอยา่ งกไ็ ดเ้ ลยี นแบบโดยไมร่ ตู้ วั  เชน่  กอ่ นนอน
                              ทกุ คืนบิดาจะปักธูปไว้ท ี่ “ตาทงั่ ไม้” (ทัง่ -แท่นรองรับการตี
                              โลหะ) เพ่อื เคารพสง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ  ครทู �านองกย็ งั ตง้ั  “ตาท่งั ” ตวั
                              เดิมไว้ทหี่ น้าร้านสบื มา และปกั ธปู ในบางโอกาส

                                    ภาพอดตี ท่คี รจู า� แมน่ กค็ อื  เม่อื เร่มิ ฝกึ หดั ใหมๆ่  ต้งั โตะ๊
                              น่ังท�าทองอยู่หน้าบ้านริมถนนทยี่ ังเป็นเพียงทางเดินเล็กๆ 
                              ทุกเช้านายอ�าเภอทีจ่ ะเดินมาข้ามสะพานใกล้บ้านเพื่อออก
                              ตรวจท้องทีท่ ้องนาจะแวะทกั เด็กชายตัวเล็กๆ อย่างเอ็นดู
                              ว่า “เป็นยังไง วันน้ีได้ก่เี ส้นแลว้ ” 

                              ทองค�าลายโบราณ

                                    พานทองพบกับวิกฤตเรือ่ งการท�านามาตั้งแต่ราวปี 
                              ๒๕๐๐ เมื่อเกิดน�้าเสีย การทา� นาไม่ได้ผลเท่าทคี่ วร ช่วงนัน้  
                              “คนหนพี านทอง” ไปอยตู่ า่ งถน่ิ กนั มาก รา้ นทองท่ีเคยตง้ั เรยี ง
                              กนั ในยา่ นตลาดถงึ ส่รี า้ นกซ็ บเซาลงบา้ ง แตไ่ มม่ ผี ลกระทบมาก
                              นักกับครอบครัวของครู เพราะคนทตี่ ้องการงานฝีมือยังมีอยู ่
                              ลวดลายโบราณทีโ่ ดดเด่นตัง้ แต่ยุคก่อน เช่น ลายก้ามกุ้ง 
                              ลายลูกฆ้องทรงเครือ่ ง ลายคดกริช ลายสายสมอ ลาย 
                              เหลยี วหลงั ค ู่ ฯลฯ ยงั นยิ มไมเ่ สอ่ื มคลาย โดยเฉพาะชดุ เคร่อื ง
                              ประดบั ในงานหม้นั  งานแตง่ งาน รวมท้ังลายฝกั แคอนั ถอื เปน็
                              เอกลักษณ์ของชาวพานทอง ถึงขนาดว่าหากมีงานในตัว
                              จังหวัด เห็นใครสวมใส่เครื่องประดับทองลายนี ้ ก็เดาได้ว่า 
                              น่าจะเป็นคนพานทอง

                                                                     มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๘ 89
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96