Page 102 - E-Book Culture 02_20182
P. 102

โดยทั่วไปการขยายตัวของตลาดจะไม่     คลองสาทรที่ตอนบนมีถนนเจริญกรุงพาดผ่าน พ.ศ. ๒๔๙๓
          เป็นไปเพียงฟากหนึ่งฟากใดของล�าน�้า ยกเว้น

          บางแห่งที่ภูมิประเทศริมฝั่งอีกด้านเป็นหน้าผา
          หินสูงชัน ไม่มีที่ราบ เช่น ชุมชนริมฝั่งน�้า
          สาละวิน ซึ่งบางแห่งปรากฏชุมชนเมือง
          เพียงฝั่งเดียวของล�าน�้า
              ทุกวันนี้ การขนส่งและการสัญจรทางน�้า

          ลดบทบาทไปมาก หากอาการ “ติดตลาด”
          หรือค่านิยมโหยหาอดีต ซึ่งท�าให้ภาพตลาดน�้า
          ดั้งเดิม รวมถึงตลาดน�้าประดิษฐ์ถูกปลุก
          กระแสขึ้นใหม่ตามการรณรงค์ของภาครัฐ
          (เรื่องใดก็ตามที่ภาครัฐรณรงค์ มักสะท้อนว่า
          เรื่องนั้นๆ เข้าสู่ภาวะวิกฤตแล้ว) หาใช่เป็น

          เรื่องพัฒนาการทางสังคมตามเงื่อนไขปกติไม่
              ความเข้าใจคลาดเคลื่อน เรื่อง “เมืองท่า
          ชายฝั่งทะเล” พัฒนาการทางสังคมจากระดับ
          บ้าน มาเป็นหมู่บ้าน ชุมชน เมือง เมืองท่า

          เมืองหลวง เริ่มจากปัจจัยการด�ารงชีพดังกล่าว
          แล้ว ยังอาศัยภูมิประเทศที่เหมาะสมเป็น
          เงื่อนไขเอื้ออ�านวยต่อการขยายตัวต่อๆ ไป
              ลักษณะส�าคัญของถิ่นฐานระดับ
          เมืองใหญ่นั้นมักตั้งอยู่ริมฝั่งล�าน�้าขนาดใหญ่
          ซึ่งมีล�าน�้าสาขาหลายเส้นไหลมาบรรจบ

          เป็นปากคลอง นั่นหมายถึงการเข้าถึงและ
          การระบายสินค้าประเภทต่างๆ จากดินแดน
          ภายในอื่นๆ ท�าได้อย่างสะดวก สามารถขนส่ง
          สินค้าเหล่านั้นมายังจุดศูนย์กลางเพื่อกระจาย
          สู่ตลาดอื่นๆ ได้กว้างไกลขึ้น



               ตลาดคลองบางกรวย จ.นนทบุรี พ.ศ. ๒๔๙๓






                                                     ราชอาณาจักรอยุธยา เป็นตัวอย่างหนึ่งของพัฒนาการตลาดริมน�้า จากชุมชน

                                                ขนาดเล็ก ต�าแหน่งที่ตั้งอยู่บนเส้นทางคมนาคมทางน�้า เติบโตเป็นชุมชนเมืองท่า
                                                ค้าขายที่ยิ่งใหญ่ มีทางคมนาคมขนส่งผ่านแม่น�้าสายหลักและล�าน�้าสาขาหลายสาย
                                                มาบรรจบกัน

     100
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107