Page 119 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 119

ขั้นตอนการตีมีดอรัญญิกแบบดั้งเดิมต้องอาศัยคนหลายคน
            เช่น คนตีพะเนิน ซึ่งมีความรู้ว่ามีดรูปไหนควรตีตรงไหน และต้องคอย
            ฟังสัญญาณการให้เสียงของคนจับเหล็ก ที่ชาวบ้านเรียกว่า “ครูเตา”
            เป็นผู้มีความรู้ ความช�านาญด้านการตีมีดเป็นอย่างดี
                  อีกทั้งตลอดเส้นทางชมหมู่บ้านหัตถกรรมตีมีด ชุมชนอรัญญิก
            ยังมีร้านจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์มีดประเภทต่าง ๆ รวมทั้งผลิตภัณฑ์
            สแตนเลสบนโต๊ะอาหารคุณภาพดีมากมาย เปิดบริการนักท่องเที่ยว
            ให้เลือกซื้อหาในราคาไม่แพงอีกด้วย                     ๓


            ชมพิพิธภัณฑหัตถกรรมมีดอรัญญิก
                   นอกจากหมู่บ้านหัตถกรรมตีมีดแห่งนี้จะเปิดให้ผู้สนใจ

            ทั่วไปได้เข้ามาเรียนรู้ขั้นตอนตีมีดแบบโบราณ และพักค้างในรูปแบบ
            โฮมสเตย์ภายในชุมชนแล้ว ที่นี่ยังมีพิพิธภัณฑ์หัตถกรรมเปิดให้เข้าชม
            ประวัติความเป็นมาของชุมชนตีมีดอรัญญิก โดยพิพิธภัณฑ์แห่งนี้





                                                                  ๔



















                                                                  ๕





                                                                 ตั้งขึ้นจากผู้น�าชุมชนและชาวบ้านที่มีแนวคิดร่วมกันในการอนุรักษ์
                                                                 คุณค่าทางภูมิปัญญาการตีมีดอรัญญิกไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษาหา
                                                                 ความรู้ ตลอดจนเป็นจุดศูนย์กลางชุมชนในการรวบรวมองค์ความรู้
                                                                 การตีมีดอรัญญิก อันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของชุมชนให้คงอยู่สืบไป
                                                                      ภายในพิพิธภัณฑ์แบ่งพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการเป็น ๓ ส่วน
                                                                 เริ่มจากส่วนที่ ๑ น�าเสนอประวัติความเป็นมาของชุมชนตีมีดอรัญญิก
                                                                 และภาพประวัติศาสตร์ “เคียวเกี่ยวข้าว จากฟ้าปกดิน” อันเป็น



                                                                                           ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    117
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124