Page 118 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 118
แต่เหตุการณ์ที่ยังอยู่ในความทรงจ�ามิรู้ลืมของครูพยงค์ คือ ศูนยเรียนรูการตีมีดโบราณ สัมผัสวิถีชีวิต
พระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ชุมชนอรัญญิก
บรมนาถบพิตร ทรงขับรถยนต์ไปเยี่ยมราษฎรที่หมู่บ้านตีมีดอรัญญิก ทุกวันนี้หมู่บ้านหัตถกรรมตีมีด ชุมชนอรัญญิกกลายเป็น
เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๑๙ วันนั้นไม่มีใครทราบว่าพระองค์จะเสด็จ แหล่งเรียนรู้ และสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียงของ
พระราชด�าเนินไป ชาวบ้านแค่ได้ยินข่าวว่า ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นหมู่บ้านค้าขายต้นแบบที่ยังคงรักษาวิถี
เสด็จพระราชด�าเนินมาที่หมู่บ้านนี้ ต่างพากันไปรอเฝ้าทูลละออง- การตีมีดโบราณไว้ แม้ต้นก�าเนิดการตีมีดจะอยู่ที่หมู่บ้านไผ่หนองและ
ธุลีพระบาทรับเสด็จแน่นสองฝั่งถนน ครั้นเมื่อเสด็จพระราชด�าเนินถึง บ้านต้นโพธิ์ก็ตาม แต่เส้นทางสายวัฒนธรรมแห่งนี้ยังคงเชื่อมร้อย
ได้ทอดพระเนตรการตีมีด พร้อมรับสั่งว่า ให้รักษาการตีมีดไว้ให้ดี ผู้คนในชุมชนในแถบนี้เข้าไว้ด้วยกันอย่างแนบแน่น และเปิดต้อนรับ
อย่าให้สูญหายไปจากหมู่บ้าน นักท่องเที่ยวหรือผู้สนใจมาเยี่ยมเยือนให้มาเรียนรู้ขั้นตอนการตีมีด
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม- โบราณ และสัมผัสวิถีชีวิตของชาวบ้านในชุมชนได้อย่างใกล้ชิด
ราชกุมารี เสด็จน�านักเรียนโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ มา ส�าหรับการตีมีดอรัญญิกแบบดั้งเดิมเปิดให้บุคคลทั่วไปที่
ทอดพระเนตรการตีมีดเเละเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ทูลกระหม่อมหญิง สนใจได้เข้ามาเรียนรู้วิธีการตีมีดในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งแบ่งมีดอรัญญิก
อุบลรัตน์ราชกัญญาฯ ทรงน�าครอบครัวมาทัศนศึกษาการตีมีดที่ชุมชน เป็น ๔ ตระกูล ได้แก่ มีดเกษตรกรรม มีดคหกรรม มีดศาสตราวุธ
เเห่งนี้เช่นกัน และมีดสวยงาม
ภาพ ๑ ช่างผลัดกันตีแท่งเหล็กร้อนจากเตาไฟให้กลายเป็นมีดเป็นดาบแหลมคม คือวิถีที่เป็นมายาวนานของชาวบ้านอรัญญิก ภาพ ๒ เครื่องไม้เครื่องมือแบบดั้งเดิม
กับถ่านไม้ ยังคงเป็นสิ่งส�าคัญในการสร้างสรรค์หัตถกรรมสูงค่า ภาพ ๓-๕ มีดอรัญญิกรูปแบบต่าง ๆ
๑ ๒
116