Page 116 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 116

รอยอดีต

          แหงหมูบานหัตถกรรมตีมีดอรัญญิก
               ในอดีตหมู่บ้านหัตถกรรมตีมีดแห่งนี้มาจากชาวเวียงจันทน์
          สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) ที่เข้ามา
          ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านต้นโพธิ์ บ้านไผ่หนอง ซึ่งตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ และ ๗
          ต�าบลท่าช้าง อ�าเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในช่วง
          ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งชาวเวียงจันทน์กลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีอาชีพช่างทอง
          และช่างตีเหล็ก ต่อมาในราว พ.ศ. ๒๓๖๕ อาชีพช่างทองได้เลือน
          หายไป คงเหลือเเต่เพียงช่างตีเหล็กที่ชาวบ้านยึดอาชีพตีมีดเป็นหลัก
          ทั้งสองหมู่บ้านมีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักกันไปทั่ว เพราะเป็นเเหล่ง

          ผลิตมีดที่ใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ที่ยังคงสืบสานอาชีพตีมีด
          มานานเกือบสองร้อยปี
               ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ เเผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า-
          เจ้าอยู่หัว เมื่อราว พ.ศ. ๒๓๖๙ เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์เสด็จมา
          ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
          และได้ขอให้ชาวเวียงจันทน์กลับประเทศ เเต่ชาวเวียงจันทน์กลุ่มนี้
          กลับขออยู่ใต้ร่มโพธิสมภารแทน เพราะพระองค์สร้างความผาสุกให้  ๑
          แก่พสกนิกรตลอดมา ท�าให้ชาวเวียงจันทน์สามารถท�ามาหาเลี้ยงชีพ
          เจริญรุ่งเรือง มีฐานะมั่นคง และสร้างชื่อเสียงการตีมีดให้เลื่องลือ
          ไปทั่วสารทิศ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๓
               ในสมัยรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
          ทรงทราบว่าบ้านต้นโพธิ์ บ้านไผ่หนองเป็นหมู่บ้านตีมีด พระองค์ อยู่เป็นประจ�า ด้วยภูมิประเทศเเห่งนี้มีแหล่งทรัพยากรอุดมสมบูรณ์
          พร้อมด้วยพระบรมวงศ์ศานุวงศ์ได้เสด็จทอดพระเนตรการตีมีดของ เป็นอู่ข้าวอู่น�้านี่เอง ชาวบ้านจึงพร้อมใจตั้งชื่อที่นี่ว่า บ้านไผ่หนอง
          ชาวเวียงจันทน์กลุ่มนี้ ทางการจึงได้ปลูกพลับพลาที่ประทับอย่างสม และยึดอาชีพการตีมีดนับแต่นั้นเป็นต้นมา

          พระเกียรติ เเละได้เกณฑ์ชาวบ้านมาตีมีดให้พระองค์ทอดพระเนตร   ส่วนบ้านต้นโพธิ์ซึ่งอยู่ใกล้เคียงบ้านไผ่หนอง มีคนเฒ่าคนแก่
          ทรงสนพระราชหฤทัยเเละทรงพอพระราชหฤทัยเป็นอันมาก      เล่าว่าเมื่อเดินทางมาถึงที่นี่ มีต้นโพธิ์ใหญ่อยู่กลางหมู่บ้านจึง
                                                              ตั้งชื่อว่า “บ้านต้นโพธิ์” เวลาต่อมาบ้านเมืองเจริญขึ้น สภาพหมู่บ้าน
          จากดงไมไผ                                         ได้เปลี่ยนเเปลงไป ดงไม้ไผ่ที่ขึ้นอยู่หนาแน่นถูกตัดถางโล่งเตียน
          สูอาชีพตีมีดอันเลื่องชื่อ                          กลายเป็นท้องไร่ท้องนา หนองน�้าตื้นเขินขึ้น

               จากการเดินทางมาตั้งถิ่นฐานของชาวเวียงจันทน์ในสมัย
          ต้นรัตนโกสินทร์ที่บ้านไผ่หนองและบ้านต้นโพธิ์ นับว่าเหมาะแก่การ ที่มาของมีดอรัญญิก

          ประกอบอาชีพตีมีดยิ่งนัก เนื่องจากเดิมภูมิประเทศแถบนี้เป็นดงไม้ไผ่  ความเป็นมาของมีดอรัญญิกสืบเนื่องจากในสมัยก่อนบริเวณ
          ขึ้นอยู่หนาเเน่น ไม้ไผ่จึงเป็นวัสดุที่ส�าคัญในการด�ารงชีพของชาวบ้าน  บ้านอรัญญิก ต�าบลปากท่า อ�าเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
          เพราะไม้ไผ่มีประโยชน์นานัปการ เช่น น�ามาเผาถ่าน ใช้เผาเหล็ก   ซึ่งอยู่ห่างจากหมู่บ้านต้นโพธิ์เเละหมู่บ้านไผ่หนองประมาณ ๓
          เพราะถ่านไม้ไผ่ให้ความร้อนสูงกว่าไม้ชนิดอื่น ส่วนล�าต้นใช้ท�า  กิโลเมตร บ้านอรัญญิกนับเป็นเมืองท่าส�าคัญของหมู่บ้านในละแวกนี้
          บ้านเรือน ท�าด้ามพะเนิน ด้ามค้อนเเละด้ามมีด ซึ่งช่างตีเหล็กต้องใช้ เพราะมีตลาด ร้านค้า โรงบ่อน มีผู้คนน�าสินค้ามาซื้อขายเเลกเปลี่ยน



          114
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121