Page 110 - Culture3-2017
P. 110
นิยามของวัฒนธรรมพันทาง
หรือ Cross Culture
“ค�าว่า Cross Culture มีนัยถึงการเรียนรู้ข้าม
วัฒนธรรมที่เข้ามามีส่วนในวิถีชีวิตหรือกิจกรรมต่าง ๆ
ของเรา ค�าว่า Cross คือ การข้ามไปข้ามมา หรือการ
ไขว้กัน ซึ่งวัฒนธรรมที่บริสุทธิ์จริง ๆ คืออะไรก็ยากจะ
พิสูจน์ได้ และคิดว่าหาได้ยากแล้วในทุกวันนี้ เพราะ
เมื่อการสื่อสารและการคมนาคมเปลี่ยนรูปแบบไป
มนุษย์ก็รับเอาสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ซึ่งเป็นของคนอื่นมา
ปรับใช้ให้เหมาะกับตนเอง นับตั้งแต่การเดินทางด้วยเท้า
ด้วยช้าง ม้า เกวียน จนถึงพาหนะที่เห็นในปัจจุบัน
รวมไปถึงพัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารจาก
การเขียนจดหมายมาถึงการใช้อินเทอร์เน็ต ทั้งหมดนี้
ล้วนก่อให้เกิดโอกาสเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ ๆ มาโดยตลอด
ตัวอย่างเช่น ในอดีตการเดินเท้าในการติดต่อระหว่าง
หมู่บ้านท�าให้ผู้คนได้เรียนรู้วัฒนธรรมของคนที่อยู่
ใกล้เคียงกัน เช่น การท�าเกษตรบ้าง ล่าสัตว์บ้าง แต่
เมื่อใดที่เขาเดินทางข้ามหมู่บ้าน หรือแต่งงานข้าม
หมู่บ้าน เขาก็จะได้เรียนรู้วัฒนธรรมที่แตกต่างออก
ไปจากสังคมเดิม เช่น หมู่บ้านหนึ่งกินข้าวเหนียว แต่ การเดินทางติดต่อสื่อสาร
อีกหมู่บ้านหนึ่งกินข้าวเจ้า เมื่อเกิดการไปมาหาสู่กัน มีผลต่อการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
ทั้งสองหมู่บ้านก็แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมการกิน “นับตั้งแต่มีการเดินทางติดต่อสื่อสารเกิด
ข้าว คือกินได้ทั้งสองแบบ” ขึ้นล้วนก่อให้เกิดโอกาสเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ ๆ มา
โดยตลอด จากเดิมติดต่อสื่อสารคมนาคมที่ใช้เวลา
มนุษย์ไม่เคยหยุดนิ่ง ค่อนข้างมาก มาเป็นการคมนาคมและการสื่อสารที่
และพร้อมพัฒนา สะดวกรวดเร็ว ย่อมส่งผลต่อการใช้ชีวิตตั้งแต่ระดับ
“มนุษย์มีสัญชาตญาณที่อยากจะพัฒนา หน่วยเล็ก ๆ แบบไมโคร (micro) ไปจนกระทั่งหน่วย
คุณภาพชีวิตมาโดยตลอด โดยใช้เวลาหลายพันปี ที่ใหญ่ขึ้น เช่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค ระดับ
ในการปรับเปลี่ยนตนเอง มีหลักฐานของวิวัฒนาการ นานาชาติ เป็นต้น ตัวอย่างของวัฒนธรรมพันทาง
ทางวัฒนธรรมจนเกิดเป็นอารยธรรมมากมาย มันเป็น ปรากฏอยู่แทบทุกหนแห่ง
ธรรมชาติของเผ่าพันธุ์มนุษย์ เราไปฝืนไม่ได้ เพราะ “ในอดีตเราอาจไปเห็นหมู่บ้านหนึ่งท�าเครื่อง
ธรรมชาติของมนุษย์มีแนวโน้มที่จะพัฒนาไปสู่วิถีชีวิต มือหาปลาและมีวัฒนธรรมการกินอันเกิดจากปลา
ที่กินดีอยู่ดี สะดวกสบาย ยั่งยืน มั่นคง ปลอดภัยมากขึ้น มากมาย เราก็เอามาใช้กับหมู่บ้านเราบ้าง ทุกวันนี้
เพียงแต่ว่าพอวิถีชีวิตคนเปลี่ยน ยุคสมัยเปลี่ยน รูปแบบ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่คนไทยกินขนมปังปิ้ง กาแฟ เป็น
ของการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปด้วย อาหารเช้า ตอนกลางวันกินสปาเกตตีขี้เมา ตอนเย็น
เรายืมวัฒนธรรมของผู้อื่นมาใช้โดยง่ายดายขึ้น คนอื่น กินซูชิ เรื่องวัฒนธรรมการแต่งกายก็เห็นได้ชัด คนไทย
ก็ยืมวัฒนธรรมของเราไปใช้อย่างง่ายเช่นกัน” อาจจะสวมเสื้อสูทตะวันตกที่ตัดเย็บจากผ้าทอลายจก
108