Page 96 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 96
ต่อมาวงออร์เคสตราพัฒนาเป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ ประกอบด้วย
เครื่องดนตรีหลัก ๔ ประเภท ได้แก่ เครื่องสาย (String Instruments)
เช่น ไวโอลิน (Violin) วิโอลา (Viola) เชลโล (Cello) เครื่องลมไม้
(WoodWind Instrument) เช่น ฟลุต (Flute) คลาริเนต (Clarinet)
แซกโซโฟน (Saxophone) เครื่องลมทองเหลือง (Brass Wind
Instruments) เช่น ทรัมเป็ต (Trumpet) ทรอมโบน (Trombone) และ
เครื่องเคาะจังหวะหรือเครื่องกระทบ (Percussion Instruments) ๑ ๒
เช่น กลองใหญ่ (Bass drum) กลองเล็ก (Snare drum) โดยมีเครื่อง
ดนตรีประเภทคีย์บอร์ดร่วมด้วยหนึ่งชนิด นั่นคือ เปียโน (Piano)
ความยิ่งใหญ่ของดนตรีออร์เคสตราจึงมิได้อยู่ที่จ?านวน พระกรุณาโปรดเกล้าฯ จ้างครูดนตรีชาวอิตาเลียนน?าเครื่องสายสากล
นักดนตรีในวง หากแต่อยู่ที่เสียงซึ่งเปล่งออกมาจากเครื่องดนตรี เข้ามาสอนให้กับนักดนตรีไทย
แต่ละชนิด ที่สอดประสานกันอย่างลงตัว บังเกิดความไพเราะอย่างที่ ต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เป็น
วงดนตรีประเภทอื่น ๆ ไม่สามารถท?าได้ ผู้ควบคุมวงดนตรีแบบยุโรปที่ทรงตั้งขึ้น ด้วยทรงเห็นว่าพระเจน-
วงออร์เคสตรายังเป็นวงดนตรีประเภทเดียวที่ต้องมี วาทยกร ดุริยางค์ซึ่งมีบิดาเป็นครูดนตรีชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน มีความรู้
(Conductor) หรือ “ผู้อ?านวยเพลง” คือผู้ที่ท?าหน้าที่ควบคุมอยู่ด้าน ทางดนตรีสากล ซึ่งหาคนไทยยุคนั้นที่มีความรู้ด้านนี้ได้ยากนัก
หน้าเวที วาทยกรต้องตีความหมายของบทเพลงที่บรรเลง โดยเห็นภาพ พร้อมกับพระราชทานนามวงดนตรีนี้ว่า “วงเครื่องสายฝรั่งหลวง”
รวมทั้งหมดของวง มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้น สังกัดกรมมหรสพ กระทรวงวัง วงเครื่องสายฝรั่งหลวงได้บรรเลง
แต่ละประเภทออกมา เพื่อสอดผสานเป็นหนึ่งเดียวกัน ต้องคอยก?ากับ ให้ชาวไทยและชาวต่างประเทศฟังอย่างแพร่หลาย มีชื่อเสียงเป็นที่
จังหวะ ลีลา และความหนักเบาของบทเพลงที่บรรเลงอยู่ วาทยกรเป็น รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยแสดงเป็นประจ?าที่ร้านกาแฟนรสิงห์ ภายใน
ผู้เชื่อมโยงอารมณ์ และความรู้สึกของผู้ประพันธ์ไปสู่ผู้ฟังเพลง “โฮเต็ลพญาไท” (วังพญาไท ภายในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ขณะเดียวกันลีลากวัดแกว่งไม้บาตอง (Baton) เพื่อให้ ในปัจจุบัน) สนามเสือป่า ศาลาสหทัยสมาคม และโรงมหรสพ
จังหวะและอารมณ์กับนักดนตรี ก็นับเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งในการชม สวนมิสกวัน ทั้งได้บรรเลงในงานส?าคัญต่าง ๆ เช่น งานฤดูหนาว
ออร์เคสตรา เพราะวาทยกรแต่ละท่านมักมีลีลาเฉพาะตัว บางคน งานกาชาด และงานของสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ โดยมีพระเจน-
เนิบช้า แต่บางคนก็ตวัดไม้บาตองอย่างดุเดือดเร้าใจ ดุริยางค์เป็นวาทยกรชาวไทยคนแรก
หลายคนเปรียบเปรยว่า วงดนตรีออร์เคสตราบรรเลงบทเพลงได้ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล
ราวกับดนตรีจากสรวงสวรรค์ สร้างสรรค์เสียงที่เลียนแบบเสียงธรรมชาติ ที่ ๗ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดบรรเลงซิมโฟนี
ได้อย่างน่าอัศจรรย์ จนอาจเรียกได้ว่าออร์เคสตรานั้นเป็น “คีตสวรรค์” คอนเสิร์ต ส?าหรับประชาชนทั่วไปขึ้นเป็นครั้งแรกในสยาม ณ โรง
ส?าหรับประเทศไทย วงดนตรีที่เรียกว่า ออร์เคสตรา เกิดขึ้น โขนหลวง ภายในสวนมิสกวัน สลับกับที่ศาลาสหทัยสมาคมใน
ราวปี พ.ศ. ๒๔๕๔ โดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ- พระบรมมหาราชวัง โดยบรรเลงเป็นงานประจ?า เพื่อเก็บเงินไว้
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ มีพระราชประสงค์ให้มีวง พระราชทานแก่องค์การสาธารณกุศลต่าง ๆ โดยมีพระเจนดุริยางค์
ดนตรีแบบสากลหรือแบบยุโรปขึ้นเพื่อให้ชาวไทยได้สัมผัสกับดนตรี เป็นผู้อ?านวยเพลงจนได้รับค?าชมเชยจากชาวต่างประเทศ และได้รับ
ของชาติตะวันตก และเพื่อให้สยามทัดเทียมกับอารยประเทศ จึงทรง การตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ โดยยกย่องว่า “วงเครื่องสาย
๓
94