Page 105 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 105
เรื่องของนางนวลทองส?าลี ธิดาของพระยาสายฟ้าฟาด ผู้ถูกลอยแพ มายาวนาน ส?าหรับคนใต้เมื่อได้ชมยิ่งซาบซึ้งและภูมิใจไปกับ
ด้วยเหตุตั้งครรภ์ โดยไม่ปรากฏสามี ต่อมานางนวลทองส?าลีคลอด ศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่นของตน ขณะเดียวกันผู้ชมภาคอื่นก็ได้รู้จัก
บุตรชายเทพสิงหรและเติบใหญ่เป็นผู้สามารถร่ายร?าโนราได้อย่าง โนรามากยิ่งขึ้น
งดงาม จนได้เข้าเฝ้าพระยาสายฟ้าฟาด เมื่อทรงทราบว่าเป็น ขณะที่ตัวหนังให้ความบันเทิงในแบบภาพยนตร์ดรามาซาบซึ้ง
หลานชาย จึงได้ประทานเทริดสวมให้เทพสิงหร และพระราชทาน กินใจ ในส่วนของการแสดงโนราก็น?าเสนอให้เห็นทุกรูปแบบขั้นตอน
บรรดาศักดิ์ขุนศรีศรัทธา (หรือพ่อขุนศรัทธา) เสมือนสารคดีเกี่ยวกับโนราแทรกซ้อนไปกับการด?าเนินเรื่องที่เข้มข้น
จากแอนิเมชันเชื่อมต่อการแนะน?าตัวครูศรัทธาที่รับบท ขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะภาพถ่ายที่น?าเสนอออกมาอย่างวิจิตรงดงาม
โดยเอกชัยเป็นผู้เล่าต?านานให้นักเรียนโนราฟังได้อย่างลงตัว จากนั้น อย่างฉากที่สิงห์ทะเลาะกับครูศรัทธาจนเทริดตกลงมายอดหัก
โครงเรื่องของ เทริด ด?าเนินไปโดยสวมทับต?านานเรื่องนี้ ไม่ว่าจะเป็น แล้วหนีออกจากบ้าน แสดงให้เห็นถึงความส?าคัญของเทริดในฐานะ
ชื่อของครูศรัทธา นวลทองแม่ของสิงห์ หรือตัวสิงห์เองก็มีจุดก?าเนิด ของสูงที่โนราทุกคนต้องเคารพบูชา และเชื่อว่าผู้ใดลบหลู่ดูหมิ่นจะ
คลุมเครือเสมือนโอรสของธิดานวลทองส?าลี ต้องพบกับความวิบัติ หนังเปิดประเด็นส?าคัญตั้งแต่ต้นเรื่อง จากนั้น
๑
ในส่วนเนื้อหาที่มีการแสดงโนราเป็นแก่นแกนตลอดทั้งเรื่อง ภาพยนตร์ได้น?าการประกอบพิธีกรรมเชื้อครู เพื่อสอบถามเกี่ยวกับ
ผู้ก?ากับได้ใส่รายละเอียดของศิลปะการแสดงชิ้นนี้ไว้อย่างเต็มอิ่ม ให้ ความผิดของลูกชาย มาตัดสลับกับฉากต่อสู้ของสิงห์กับนักเลงที่เป็น
ผู้ชมได้รู้จักวิถีของโนราอย่างถ่องแท้ที่ผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวใต้ ฝ่ายเพลี่ยงพล?้า แต่รอดมาได้จากค?าขอขมาของครูศรัทธา พร้อมกับ
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 103