Page 103 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 103

มองผ่านหนามเตย

                                                                                            รุ่งโรจน์ จุกมงคล  เรื่อง
                                                                               ภาพจากวีดิทัศน์เบื้องหลังภาพยนตร์เทริด




                                               “เทริด”...





                                     สืบสานคุณค่าโนราถิ่นใต้








                  เทริด    [เซิด] น. เครื่องประดับศีรษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า
                           (ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔)



                  “เทริด” ในที่นี้เป็นสิ่งเคารพบูชาของโนรา  เป็นสิ่งที่ใช้สวมใส่ครอบศีรษะเมื่อขึ้นแสดงบนเวที ถือเป็นของสูง เมื่อถูกน?า
                                                    *
            มาใช้เป็นชื่อภาพยนตร์เพื่อแสดงถึงคุณค่าของศิลปะการแสดงพื้นบ้านของภาคใต้อย่างโนรา นับว่าเป็นการเลือกสรรอย่าง
            เหมาะสมยิ่ง


                  ที่ผ่านมามีภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องสร้างขึ้นเพื่อเชิดชูศิลป-  เอกชัย ในการเล่าเรื่องวัฒนธรรมที่ผูกพันกับชีวิตของ “คนใต้” จาก
            วัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ ของแต่ละภูมิภาค ส่วนใหญ่เป็นเรื่องวัฒนธรรม  มุมมองของคนใต้แท้ ๆ อีกด้วย
            ของภาคกลาง จึงอาจกล่าวได้ว่า เทริด เป็นภาพยนตร์ที่ตั้งใจน?าเสนอ  ก่อนจะเข้าสู่เรื่องราวของภาพยนตร์เรื่อง เทริด ต้องเกริ่นน?า
            ศิลปวัฒนธรรมของภาคใต้เป็นเรื่องแรก                   ถึงการแสดงโนราศิลปะพื้นบ้านชาวใต้เพื่อปูพื้นเสียก่อน โนรามีจุด
                  ภาพยนตร์เรื่องนี้ยังเป็นผลงานก?ากับเรื่องแรกของ เอกชัย  ก?าเนิดจากจังหวัดพัทลุง สมตามค?าขวัญ “เมืองหนังมโนราห์ อู่นาข้าว
            ศรีวิชัย นักร้องลูกทุ่งชื่อดังของภาคใต้ที่มีชื่อเสียงในวงการเพลง  พราวน?้าตก แหล่งนกน?้า ทะเลสาบงาม เขาอกทะลุ น?้าพุร้อน”
            มานานกว่า ๓๐ ปี เจ้าของผลงานเพลงดังมากมายทั้งในภาษากลาง โดยเฉพาะค?าในวรรคแรก “เมืองหนังมโนราห์” แสดงถึงความเป็น

            และภาษาใต้พื้นถิ่น อีกด้านหนึ่งเอกชัยเป็นนักอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม มรดกทางวัฒนธรรมของเมืองพัทลุงอย่างชัดเจน เพราะเป็นแหล่ง
            ของภาคใต้ นอกจากร้องและแสดงกับวงดนตรีลูกทุ่งของตัวเองแล้ว  รวมคณะมโนราห์มากมาย พร้อมกับมีวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุงเป็น
            เอกชัยยังจัดการแสดงโนราเพื่อเผยแพร่และอนุรักษ์ศิลปะการแสดง สถาบันแห่งการเรียนรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญาของมโนราห์สู่เยาวชน
            แขนงนี้อีกด้วย                                       คนรุ่นใหม่
                  เมื่อมาท?าหน้าที่ก?ากับภาพยนตร์เกี่ยวกับโนรา จึงเสมือน  การแสดงโนราในปัจจุบันนิยมใช้ในการแก้บน หรือน?ามา
            การกลับคืนสู่รากเหง้าของศิลปะการแสดงพื้นบ้านที่ตัวเองรัก  ประยุกต์ใช้ในพิธีเปิดงานต่าง ๆ โดยมีเอกลักษณ์เด่นชัดคือการแต่งตัว
            และศรัทธา ทั้งยังเป็นการตั้งใจท?างานเพื่อสืบสานการแสดงโนราให้ ของผู้แสดงที่สวมชุดและเครื่องประดับสวยงามทั้งตัว พร้อมกับมี
            ต่อยอดไปสู่คนรุ่นใหม่ หากกล่าวตรง ๆ ต้องบอกว่าไม่มีใครเหมาะสม  “เทริด” เป็นเครื่องสวมศีรษะของโนรา ซึ่งถือว่าศักดิ์สิทธิ์และเชื่อว่า
            เท่ากับศิลปินมากความสามารถและคร?่าหวอดประสบการณ์อย่าง เป็นที่สถิตของครูโนรา


            *  โนรา หรือ มโนราห์ หรือ มโนห์รา ทั้งสามค?านี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายเดียวกันคือ ศิลปะการแสดงพื้นเมืองอย่างหนึ่งของภาคใต้ มีแม่บท
            ท่าร?าอย่างเดียวกับละครชาตรี



                                                                                           เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    101
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108