Page 97 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 97

หลุมขนมครก หยุดท่วม-หยุดแล้ง อย่างยั่งยืน
                  “หลุมขนมครก เป็นค?าเปรียบเทียบที่พระบาทสมเด็จ
            พระเจ้าอยู่หัว ทรงน?าเอาถาดขนมครกมาอธิบายการจัดการน?้า
            และลุ่มน?้า อย่างถาดที่ไม่มีหลุมเลยเวลาฝนตกมาก็หลากท่วมหมด

            เสร็จก็ไหลทิ้ง แต่ถ้าในถาดมีหลุมเล็ก ๆ กระจายทั่วเหมือนถาด
            ขนมครก ฝนตกลงมาก็ไหลในหลุม พื้นที่ส่วนใหญ่ก็จะไม่ท่วม
            ขณะเดียวกันฤดูแล้งก็จะไม่แล้ง”
                                                 (ดร.วิวัฒน์ ศัลยก?าธร  พระราชามาปฏิบัติให้เกิดผล ด้วยการสร้างคน เครือข่าย และ
                       ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงและมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ)  ศูนย์เรียนรู้ ด้วยความเชื่อที่ว่าการท?าให้เห็นผลส?าเร็จเป็นตัวอย่าง
                                                                 จะได้ผลมากกว่าเพียงค?าบอกเล่า เพราะเมื่อชาวบ้านเห็นตัวอย่าง
                  โครงการฯ มีเป้าหมายในการเผยแพร่ศาสตร์พระราชาด้วย ความส?าเร็จของเพื่อนบ้านก็จะพากันลงมือท?าตาม โครงการฯ
            การขุด “หลุมขนมครก” เพื่อใช้เป็นที่กักเก็บน?้าในยามที่น?้าหลาก ได้ด?าเนินการอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่ปีที่ ๕ สามารถสร้างตัวอย่าง
            และเป็นแหล่งน?้าในยามแล้ง ปลูกพืชผสมผสานด้วยการปลูกป่า   ความส?าเร็จที่เป็นรูปธรรม และขยายผลจากลุ่มน?้าป่าสักไปสู่ลุ่มน?้า
            ๓ อย่างให้ประโยชน์ ๔ อย่าง ห่มดินให้เก็บความชุ่มชื้น เกิดเป็นโคก   อื่น ๆ ทั่วประเทศ ยืนยันได้ว่าศาสตร์พระราชานอกจากจะช่วย
            หนอง นา โมเดล ส?าหรับการจัดการน?้าในที่ลุ่ม และเปลี่ยนเขาหัวโล้น แก้ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม ยังแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมได้
            เป็นเขาหัวจุกในที่สูง นับเป็นการรวมองค์ความรู้ต่าง ๆ ของศาสตร์  อย่างยั่งยืน ดังกรณีตัวอย่างเหล่านี้



                                                                                             มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐    95
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102