Page 95 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 95
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี โดยน?าแนวพระราชด?าริ “ทฤษฎีใหม่”
ซึ่งเป็นวิธีการจัดการน?้าและดิน เพื่อให้เกษตรกรส่วนใหญ่ที่มี
ที่ดินขนาดเล็กใช้ที่ดินนั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการจัดการ
บริหารแหล่งน?้า การจัดการด้านการเกษตรเพื่อการพออยู่พอกิน
พึ่งตนเองได้ การรวมกลุ่มและสหกรณ์ ไปจนถึงการหาแหล่งทุน
๔ อย่าง การท?าฝายชะลอน?้า การปลูกหญ้าแฝก และการขุดบ่อ โดยประยุกต์ใช้หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับการท?าการ
หรือสระน?้าเป็นแก้มลิงเพื่อกักเก็บน?้า รวมถึงโครงการในพระราชด?าริ เกษตรอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อความยั่งยืนทางอาหารและความมั่นคง
ด้านชลประทาน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน?้าและเพื่อ ในชีวิต เพื่อเป็นต้นแบบให้ประชาชนได้เรียนรู้และน?าไปประยุกต์ใช้
การรักษาแหล่งน?้าอย่างยั่งยืน ในพื้นที่ของตนเอง โดยทรงเน้นว่าการท?าทฤษฎีใหม่ต้องสามารถ
ยืดหยุ่นได้
ทฤษฎีใหม่ต้องยืดหยุ่นได้ “...ท?าทฤษฎีใหม่เพื่อที่จะให้ประชาชนมีโอกาสท?าเกษตร-
“...หลักมีว่า แบ่งที่ดินเป็นสามส่วน ส่วนหนึ่งเป็นที่ส?าหรับ กรรมให้พอกิน ถ้าน?้ามีพอดีในปีไหน ก็สามารถที่จะประกอบการ
ปลูกข้าว อีกส่วนหนึ่งส?าหรับปลูกพืชไร่ พืชสวน และก็มีที่ส?าหรับ เกษตร หรือปลูกข้าว ที่เรียกว่านาปีได้ ถ้าต่อไปในหน้าแล้งน?้ามีน้อย
ขุดสระน?้า...ทฤษฎีใหม่นี่จะขยายขึ้นไปได้ อาจจะทั่วประเทศ ก็สามารถที่จะใช้น?้าที่กักไว้ในสระเก็บน?้าของแต่ละแปลงมาท?า
แต่ต้องช้า ๆ เพราะว่าต้องสิ้นเปลือง สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย ๆ การเพาะปลูก แม้แต่ข้าวก็ยังปลูกได้ ไม่ต้องไปเบียดเบียนชลประทาน
แต่ว่าค่อย ๆ ท?า และเมื่อท?าแล้ว ก็นึกว่าเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะ ระบบใหญ่ เพราะมีของตัวเอง แต่ก็อาจจะปลูกผักหรือเลี้ยงปลา
ท?าให้ประชาชนมีกินแบบตามอัตภาพ คืออาจไม่รวยมาก แต่ก็ หรือท?าอะไรอื่น ๆ ก็ได้
พอกิน ไม่อดอยาก...” ทฤษฎีใหม่นี่มีไว้ส?าหรับป้องกันความขาดแคลน ในยาม
(พระราชด?ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ปกติก็จะท?าให้ร?่ารวยมากขึ้น ในยามที่มีอุทกภัย ก็สามารถที่จะ
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๗ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต) ฟื้นตัวได้เร็ว โดยไม่ต้องให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ท?าให้
ประชาชนมีโอกาสพึ่งตนเองได้อย่างดี ฉะนั้นจึงได้สนับสนุนให้มี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพบว่า การปฏิบัติตามทฤษฎีใหม่...”
เกษตรกรส่วนใหญ่มีที่ดินขนาดเล็กโดยเฉลี่ยประมาณ ๑๕ ไร่ (พระราชด?ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
จึงมีพระราชด?าริให้พัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาฯ อ?าเภอ เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต)
มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐ 93