Page 94 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 94
หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง น?้า คือ ชีวิต
หลายคนเข้าใจผิดว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของ จากการเสด็จพระราชด?าเนินเยี่ยมราษฎรทั่วทุกภูมิภาค
เกษตรกรรมและการใช้ชีวิตอย่างสมถะแต่เพียงด้านเดียว แท้จริงแล้ว ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท?าให้
เศรษฐกิจพอเพียงนั้นรวมถึงทุก ๆ เรื่อง หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียง พระองค์ทรงเห็นถึงปัญหาเรื่องความเป็นอยู่ของราษฎรซึ่งส่วนใหญ่
คือ การด?าเนินชีวิตบนทางสายกลางอย่างมีเหตุผล โดยใช้ความรู้ เป็นเกษตรกร ทั้งปัญหาเรื่องที่ดินท?ากิน การด?ารงชีพที่ต้องพึ่งพา
คู่คุณธรรม เพื่อให้พึ่งตนเองได้ และอยู่ในสังคมได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน ธรรมชาติ ที่นับวันจะต้องเผชิญกับภัยแล้งและอุทกภัยที่รุนแรงขึ้น
และมีศักดิ์ศรี ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ พระองค์ทรงพบว่าปัญหาใหญ่ของราษฎรคือ การขาดแคลนแหล่งน?้า
จึงอาจกล่าวได้ว่านี่เป็นทางรอดของทุกคนในทุกสถานการณ์ ซึ่งเป็นหัวใจส?าคัญของการเกษตรและการด?ารงชีวิต เพราะน?้า
“...ความพอเพียงนี้ ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้อง คือ ชีวิต
ผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่า “...หลักส?าคัญว่าต้องมีน?้าบริโภค น?้าใช้ น?้าเพื่อการเพาะปลูก
ในหมู่บ้านหรือในอ?าเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่ง เพราะว่าชีวิตนั้นอยู่ที่น?้า ถ้ามีน?้าคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน?้าคนอยู่ไม่ได้...”
บางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้...คนอื่นเขาต้องมี (พระราชด?ารัส พระราชทานแก่เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์
การเศรษฐกิจที่ต้องมีการแลกเปลี่ยน เรียกว่าเป็นเศรษฐกิจการค้า เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต)
ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียง เลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา แต่เมืองไทยเป็น
ประเทศที่มีบุญอยู่ว่า ผลิตให้พอเพียงได้...” พระองค์ทรงพระราชทานแนวทางในการรักษาป่าต้นน?้า
(พระราชด?ารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ด้วยการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก คือ ทิ้งเอาไว้โดยไม่ไปรบกวน
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต) ป่าก็จะฟื้นตัวกลับมาได้เอง การปลูกป่า ๓ อย่างให้ประโยชน์
92