Page 71 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 71

๒

                                 ๑ เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ งามสง่าอยู่เหนือล?าน?้าเจ้าพระยา (เกรียงไกร ไวยกิจ ภาพ)
                                 ๒ กระบวนพยุหยาตราชลมารคในอดีต (ภาพจากเว็บไซต์ส?านักราชเลขาธิการ http://oldwebsite.ohm.go.th)









                                       สมัยกรุงธนบุรี แม้เป็นช่วงเวลาที่ไม่ยาว  รางวัลมรดกทางทะเลขององค์การเรือโลก (The
                                 นานนัก ยังมีบันทึกในประวัติศาสตร์กล่าวถึงกระบวน World Ship Trust Maritime Heritage Award
                                 พยุหยาตราชลมารค เช่น ในพระราชพิธีสมโภชรับ  ‘Suphannahong Royal Barge’) ประจ?าปี พ.ศ.
                                 พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต  ๒๕๓๕
                                 ที่ทรงอัญเชิญมาจากกรุงเวียงจันทน์ เมื่อสมเด็จ   พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
                                 พระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จพระราชด?าเนินขึ้นไป อดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้า

                                 สมทบที่พระต?าหนักบางธรณีกรุงเก่า ปรากฏมีเรือ  สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด?าเนินไป
                                 แห่มารวมกันเป็นจ?านวน ๒๔๖ ล?า             ทรงวางกระดูกงูเรือพระที่นั่งล?าใหม่ ณ กรมอู่ทหารเรือ
                                       สมัยรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ไทย  กรุงเทพมหานคร เมื่อวันจันทร์ที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๗
                                 ทุกพระองค์ยังคงทรงสร้างเรือพระราชพิธีล?าใหม่ ๆ   เวลา ๑๗.๑๕ นาฬิกา เรือพระราชพิธีล?าใหม่นี้
                                 ตลอดมา ทุกล?าล้วนเป็นนาวาสถาปัตยกรรมที่  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรง
                                 ยิ่งใหญ่และงดงามด้วยนานาศิลปกรรมตกแต่ง   มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานนามว่า เรือพระที่นั่ง
                                 โดยเฉพาะหนึ่งในนั้น “เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์”  นารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙
                                 เป็นเรือพระที่นั่งที่ต่อขึ้ในสมัยพระบาทสมเด็จ-   เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙
                                 พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แต่มา  คือ นาวาสถาปัตยกรรมแห่งรัชสมัย ทั้งทรวดทรง
                                 เสร็จสมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า และรายละเอียดประณีตศิลป์ งดงามสง่าต้องตามคติ
                                 เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ซึ่งต่อมาเรือพระที่นั่ง และธรรมเนียมโบราณราชประเพณี เป็นมรดกทาง
                                 สุพรรณหงส์ที่งดงามสง่าทรงคุณค่าก็ได้รับเหรียญ วัฒนธรรมอันล?้าค่าของชาติไทย



                                                                                             มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐    69
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76