Page 40 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 40
ด้านทัศนศิลป์ (ภาพถ่าย)
สงคราม โพธิ์วิไล
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการถ่ายภาพ มีภาพหนึ่งที่ผม เป็นที่ทราบกันดีว่าพระองค์เสด็จฯ ไป
ศิลปินนักถ่ายภาพไทย ได้กราบบังคมทูลถาม ทุกแห่งหนทั่วหล้าฟ้าไทย โดยจะทรงกล้องคล้อง
พระองค์ท่านว่า พระศอตลอดเวลา ภาพราษฎรเข้าเฝ้าในทุกแห่ง
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ทุกต?าบล ทุกอ?าเภอ ด้วยเทคนิคที่จะทรงใช้
อดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงเริ่มถ่ายภาพตั้งแต่ ทรงถ่ายภาพสมเด็จ ประโยชน์จากภาพถ่ายอย่างกว้างขวาง ทรง
มีพระชนมายุเพียง ๘ พรรษา (จากสมาคม พระนางเจ้าฯ พระบรม- ส่งเสริมวงการถ่ายภาพให้เจริญก้าวหน้า ทรง
ภาษาและหนังสือฯ ๒๕๓๑) ในขณะที่ทรง ราชินีนาถ เพียงแค่เสี้ยว รับสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยไว้ใน
ด?ารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชอนุชา พระพักตร์ พระองค์ท่าน พระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๒ และ
ทรงถ่ายภาพรามเกียรติ์ที่ผนังพระอุโบสถ ทรงมีแนวทางอย่างไร ทรงรับเชิญเป็นองค์ประธานตัดสินภาพถ่าย
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และยังทรงท?าหน้าที่ มีพระวินิจฉัยในแง่มุมใด ของสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ใน
เสมือนช่างภาพส่วนพระองค์ ในพระบาทสมเด็จ- ทรงมีพระเมตตาตรัส พระบรมราชูปถัมภ์ ทรงใช้พระราชวิจารณญาณ
พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ดังที่สมเด็จพระเจ้า- ตอบว่า.... อย่างเที่ยงธรรม และทรงแนะน?าสิ่งที่พัฒนา
พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ ทรงพระอักษร ดีงามแก่คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ เสมอมา
ไว้ว่า
“สมเด็จพระราชอนุชา ทรงเป็นช่างภาพที่ติดตามทุกหน การถ่ายภาพของพระองค์ท่านใช้หลักตรรกะของการ
ทุกแห่ง และฝึกอาชีพการเป็นกษัตริย์ไปโดยไม่รู้ตัว” ถ่ายภาพด้วยล?าดับ คือ ๓ D
D แรก DOCUMENTARY ภาพคือการบันทึกหลักฐาน
ที่ชัดเจน
D ที่สอง DOUBLE TAKE ภาพคือการล?าดับเหตุการณ์
ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐-๒๐ ปี จะเห็นความ
แตกต่าง สมัยนี้ใช้ว่า BEFORE – AFTER
D ที่สาม DEVELOPMENT คือ การใช้ภาพถ่ายเพื่อ
พัฒนาการ จากภาพแรกที่ทรงถ่ายเมื่อเริ่มต้น ๑๐ ปีก่อน
มาเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นข้อแตกต่าง น?ามาเป็นข้อมูลพัฒนา
ได้ดียิ่งขึ้น
มีเรื่องราวมากมายที่แสดงว่าพระองค์ท่านทรงเป็นกษัตริย์
พัฒนาชาติด้วยภาพถ่ายโดยแท้ ทรงเป็นอัครศิลปินที่เปี่ยมล้น
ในทุกด้านที่พวกเราพบเห็นได้ตลอด ๗๐ ปี โดยสรุปได้ว่าพระองค์
ท่านนั้น
38