Page 44 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 44
ด้านดุริยางคศิลป์
รองศาสตราจารย์ ดร.สุกรี เจริญสุข
ผู้อ?านวยการวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล บทเพลงพระราชนิพนธ์ของพระองค์เป็นความไพเราะ
อย่างคลาสสิก คือมิใช่ไพเราะอย่างฉาบฉวย หากเป็นความ
เสียงดนตรีท?าให้มนุษย์เกิดความเบิกบานในจิตใจ ดนตรี ไพเราะอย่างยั่งยืน ซึ่งภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาท-
ยิ่งไพเราะ ความเบิกบานจะยิ่งซึมซ่านเข้าไปถึงขุมขน ท?าให้เกิด สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม
อาการซาบซึ้งจนขนลุกได้ เพราะโดยธรรมชาติ ร่างกายมีกลไก ๒๕๕๙ จึงถือเป็นจุดเปลี่ยนของสังคมไทยในหลายมิติ คนไทย
การหลั่งสารความสุขที่เรียกว่า “เอ็นโดฟิน” (Endophins) อยู่แล้ว รู้สึกว้าเหว่ อ้างว้าง ไร้ทิศทาง ไม่รู้จะไปทางไหน ไม่รู้จะบ่ายหน้าไป
ดังนั้นเวลาเราเสพดนตรีที่มีความไพเราะ พึ่งใคร หรือไว้ใจใคร สังคมรู้สึกขาดพ่อ ขาดความ
โมเลกุลแห่งความสุขในร่างกายเราก็จะยิ่ง ‘ดนตรีช่วยขจัด เชื่อมั่น
ขยาย สารความสุขก็จะแผ่ซ่านไปทั่วทั้งร่างกาย ความเจ็บปวดในระหว่าง ครั้นตั้งสติได้แล้วก็กลับไปศึกษาว่าพ่อ
นี่เป็นเหตุให้เราเชื่อว่าดนตรีนั้นมีพลัง วัน’ เป็นพระราชปรารภ มีอะไรเหลือไว้ให้บ้างที่จะเป็นเครื่องน?าทาง
พลังท?าให้เกิดความเคลื่อนไหว ความเคลื่อนไหว ที่พระองค์ทรงรับสั่งไว้ ในการด?าเนินชีวิต ทุกภาคส่วนต่างพยายาม
ท?าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความเปลี่ยนแปลง เสียงดนตรี ๔๘ เพลง ที่จะน?าองค์ความรู้ของพ่อออกมาใช้ มา
น?าไปสู่การพัฒนา ยิ่งดนตรีหรือบทเพลงที่ ที่พระองค์ทรง ไตร่ตรองและพัฒนาเพื่อให้เป็นปัญญาที่ยั่งยืน
สร้างสรรค์โดยผู้ประพันธ์ที่มีพระอัจฉริยภาพ พระราชทานเอาไว้ พระราชปรารภที่พระองค์ทรงรับสั่งไว้เกี่ยวกับ
สูงเฉกเช่นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- เป็นเสมือนบทเพลง ดนตรีคือ
ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ดนตรีนั้นยิ่งก่อให้ คลายความทุกข์โศกให้ “ดนตรีช่วยขจัดความเจ็บปวดใน
เกิดพลังในทางสร้างสรรค์ทบเท่าทวีคูณ ปวงชนชาวไทย ระหว่างวัน”
ด้วยเหตุนี้เสียงดนตรี ๔๘ เพลงที่
พระองค์พระราชทานที่แก่ปวงชนชาวไทย จึงเป็นเสมือนบทเพลง
คลายความทุกข์โศกให้ปวงชนชาวไทย
เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๓ วงดนตรีดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิก
แห่งประเทศไทย (ทีพีโอ) ได้มีโอกาสถวายการแสดงที่หอประชุม
ราชแพทยาลัย โรงพยาบาลศิริราช ซึ่งเป็นครั้งแรกของวงทีพีโอ
ได้แสดงต่อหน้าพระที่นั่ง บทเพลงพระราชนิพนธ์ถูกน?ามาบรรเลง
ขณะที่พระองค์ทรงพระเกษมส?าราญ ทรงประทับนั่งฟังอย่าง
สนพระราชหฤทัยยิ่งนัก
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงวาง
รากฐานดนตรีแจ๊สในประเทศไทย บทเพลงพระราชนิพนธ์เป็น
เนื้อหาดนตรีแจ๊สที่ส?าคัญมาก ซึ่งนักศึกษาต้องศึกษาและสืบทอด
ต่อไป เพราะพระองค์ทรงเล่นดนตรีแจ๊สด้วยพระองค์เอง และ
ทรงพระราชทานดนตรีให้กับพสกนิกรชาวไทย
42