Page 101 - Culture3-2016
P. 101
ขึ้นอยู่กับว่าผู้ผลิตจะผลิตงานออกมาได้ตรงตามที่ตนเองคิด
และตรงตามความพอใจของผู้เสพหรือไม่เช่นเดียวกัน
ในความเหน็ ของผม ภาพยนตร์จงึ เป็นผลงานของมนษุ ย์
ทใี่ ชเ้ พอื่ การใดกไ็ ดท้ งั้ นนั้ ไมว่ า่ เพอื่ ประโยชนข์ องผผู้ ลติ ประโยชน์
ของผู้เสพ ใช้ในทางที่ดีหรือใช้ในทางที่ร้าย ความสมประโยชน์
จะเกิดขึ้นได้ทั้งสิ้นถ้าผู้ผลิตงานศิลปะนั้นมีฝีมือในการผลิต
รู้จักและเข้าใจในสิ่งที่ตนผลิต และทาให้ผู้เสพพอใจในศิลปะ
ที่ตนผลิตขึ้นมา
เหมือนดังที่ทราบกันแล้วว่าภาพยนตร์ไม่ใช่สิ่งที่
ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นโดยคนไทย แต่เป็นนวัตกรรมที่ฝรั่งเป็น
ผู้คิด เพราะฉะนั้นความรู้ในเรื่องภาพยนตร์จึงไม่ใช่สิ่งที่คนไทย
ส่วนใหญ่จะสามารถเรียนรู้ได้มากนัก แม้ว่าคนไทยมีโอกาส
ได้ดภู าพยนตร์ก่อนคนในประเทศอษุ าคเนย์ ดงั ข้อเขยี นตอนต้น
ที่ผมเขียนมา
แม้ในช่วงชีวิตผมเอง ผมค่อนข้างมั่นใจว่าก่อนปี พ.ศ.
๒๕๐๘ ความรู้เกี่ยวกับภาพยนตร์ที่เขียนโดยคนไทยเป็น
ภาษาไทย ด้วยภาษาที่คนทั่วไปสามารถอ่านแล้วเข้าใจได้
ง่ายๆ (ไม่ใช่ประเภทตาราทางวิชาการ-ซึ่งวิชาภาพยนตร์อันมี
การเรียนการสอนกันอยู่บ้างในยุคนั้นก็มีเฉพาะในระดับที่สูง
กว่ามัธยมศึกษา-เข้าไปอีก) “ค่อนข้างจะไม่มี” แน่ จนกระทั่ง
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้เขียนหนังสือเรื่องเมืองมายา แล้ว
ตีพิมพ์ครั้งแรกขึ้นมา
ความรู้เบื้องต้นที่เกี่ยวกับภาพยนตร์ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งภาพยนตร์อเมริกันที่กา ลังมีผลงานโดดเด่นนา หน้ากว่า
ประเทศใดๆ ในยุคนั้นจึงได้ปรากฏขึ้น
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช น่าจะเป็นนักเขียนไทยคนแรก
ที่กล่าวว่า “ภาพยนตร์นั้นมีรูปธรรมนามธรรมที่เป็นตัวของ
ตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีภาษาของตัวเอง ที่เรียกว่า
‘ภาษาภาพ’ ซึ่งมนุษย์ผู้มีและรู้จักกับภาษาเขียนและ
ภาษาพูดของตนดีแล้วก็น่าจะต้องรู้จักกับ ‘ภาษาภาพของ
ภาพยนตร์’ เอาไว้ด้วย แล้วมนุษย์จะสามารถเข้าใจหรือ
สื่อสารกับภาพยนตร์ได้ดีขึ้น” ในข้อเขียนของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์
กล่าวว่าภาษาภาพของภาพยนตร์ประกอบขึ้นด้วย Elements
(ที่ผู้เขียนใช้คาแปลว่า ‘ธาตุ’) ๘ ประการ ดังต่อไปนี้
99
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙