Page 103 - Culture3-2016
P. 103










หรือไม่เป็นสาคัญ ธาตุประการนี้ค่อนข้างเป็นนามธรรมที่ลึกซึ้ง 

พอควรอยสู่ า หรบั คนไทยทสี่ นใจหนงั ยคุ ปี ๒๕๐๘ ซงึ่ หลงั จากนนั้ 


อีก ๖๐ ปีภาพยนตร์บางกลุ่มก็ยิ่งเน้นคนดูเฉพาะกลุ่มมากขึ้น 

จนถึงวันนี้ผมจึงไม่ค่อยแน่ใจนักว่าสเปซของภาษาภาพยนตร์ 


วันนี้จะลึกซึ้งขึ้นกว่าเดิมอีกหรือไม่เพียงใด จึงต้องขอสารภาพ 

ไว้ด้วย ก่อนที่จะต่อไปใน

ธาตุที่ห้า สี (colour) ภาพยนตร์นั้นมีสีขาวดาใน 


เบื้องต้น ก่อนจะพัฒนาเป็นสีธรรมชาติและสีเทคนิคในยุค 

ต่อมาและต่อมา การจงใจถ่ายทาภาพยนตร์เป็นสีใดชนิดไหน 

ทุกวันนี้มีทั้งการยึดศิลปะหรือยึดการลงทุนเป็นตัวตัดสิน 


เพราะฉะนั้นสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งในงานศิลปะนานา 

ชนิด จึงต้องรวมเป็นธาตุที่สาคัญของภาษาภาพยนตร์ด้วย 


เช่นเดียวกัน

ธาตุที่หก เสียง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์อธิบายว่า “เสียงที่คนดู 

ได้ยินจากภาพยนตร์มีอยู่สามชนิด คือเสียงพูดด้วยภาษา ๑


มนุษย์ เสียงดนตรี และเสียงธรรมชาติที่มีอยู่นานาประการ” 

เสียงเหล่านี้ก่อให้เกิดความรู้สึกได้เช่นเดียวกับสี ซึ่งผู้สร้าง 

ภาพยนตร์จะนามาใช้บ่อยๆ โดยที่คนดูอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว 


ก็ได้ ด้วยเจตนาเดียวคือสร้างอารมณ์บางอย่างให้คนดูเกิด 

ความรู้สึกขณะที่ดูภาพและเนื้อหาต่างๆ ที่ถูกนาเสนอออกมา 

เสียงจึงเป็นธาตุที่มุ่งประสงค์ต่อการก่อให้เกิดอารมณ์แก่ผู้ดู 


ภาพยนตร์ และการทา ใหเ้ กดิ หรอื ไมท่ า ใหเ้ กดิ เสยี งกส็ รา้ งอารมณ์ 

ได้ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันด้วย


ธาตทุ เี่ จด็ คอื ดนตรี ม.ร.ว. คกึ ฤทธเิ์ ขยี นไวว้ า่ “ธาตขุ อง กลับไปเน้นการไม่ใส่ภาษาพูดเข้าไปในภาพยนตร์ที่เขาต้ังใจ 

ดนตรีในภาพยนตร์ควรจะต้องกลมกลืนกับธาตุอื่นๆ ท่ีมีอยู่ ทา ขนึ้ การพจิ ารณาธาตนุ ขี้ องภาพยนตรใ์ นยคุ นจี้ งึ ตอ้ งเพมิ่ การ 

พิจารณาในเร่ืองของความตั้งใจท่ีจะให้มีหรือไม่ให้มีภาษาพูด 
ในภาษาภาพยนตร์ไม่แยกออกมาต่างหากหรอืเดน่ออกมา 

อย่างเดียว จนทา ลายธาตุอนื่ ๆ ลงไป ถา้ ไม่ใช่ดว้ ยเจตนา”
ในภาพยนตร์ทสี่ร้างด้วย

ก่อนท่ีจะปิดท้ายด้วยธาตุท่ีแปด คือภาษาพูด ในยุคท่ี ทั้งหมดนี้คือส่ิงท่ีมีอยู่ในภาพยนตร์สาหรับผู้ที่อยากรู้ 


เขยี นเรอื่ งนี้ ม.ร.ว. คกึ ฤทธแิ์ สดงความเหน็ วา่ “ถงึ แมว้ า่ ภาพยนตร์ อยากเข้าใจว่า ภาพยนตร์นั้นคืออะไร?

จะเปน็ อกี ภาษาหนงึ่ ซง่ึ แตกตา่ งไปจากภาษาทใี่ ชก้ นั อยตู่ ามปกติ ถ้าเราสามารถเข้าใจภาพยนตร์ได้ถึงขั้นนี้แล้ว ก็น่าเช่ือ 

แต่ภาพยนตร์ก็ยังละทิ้งภาษาพูดเสียมิได้แม้แต่ภาพยนตร์ ได้ว่าภาพยนตร์สามารถจะใช้เพอื่การใดกไ็ด้ทงั้สิ้นขอแต่เพยีง 


ประเภทหนังเงียบในยุคแรกก็ยังต้องใส่ภาษาพูดเข้าไปใน ให้คนที่ผลิตภาพยนตร์ได้รู้ว่าจะผลิตภาพยนตร์ที่สมบูรณ์ด้วย 

ภาษาภาพด้วยในบางคร้ังบางที” แต่พอมาถึงโลกปัจจุบันยุค ภาษาแห่งภาพยนตร์น้ันได้อย่างไรแค่ไหน และมีวิจารณญาณ 

หลังปีค.ศ.๒๐๑๐มีภาพยนตร์บางเร่ืองทผีู่้ทาคดิทวนกระแส
พอท่ีจะรู้ว่าผู้ดูจะได้รับสิ่งใดในภาพยนตร์ที่ตนผลิตขึ้นมา





101
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙ 



   101   102   103   104   105