Page 22 - CultureMag2015-3
P. 22
การขบั ไม ้ อันเชือ่ กันวา่ เป็นต้นเคา้ ของวงมโหรี วงมโหรเี คร่ืองส่ี
(ท่มี าของภาพ : หนงั สือ ต�ำนานเคร่ืองมโหรีปีพ่ าทย์ ) (ท่ีมาของภาพ : หนังสือ ตำ� นานเคร่ืองมโหรปี ีพ่ าทย์ )
จากการศึกษาและความเห็นของท่านแต่ก่อน เช่น สมเดจ็ ฯ เพมิ่ โทนกำ� กบั จงั หวะเขา้ มาประกอบล�ำนำ� ตา่ งๆ ผสมผเสกบั
กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ซึ่งทรงนิพนธ์ ต�ำนานมโหรี ขนบของเพลงพณิ เปน็ เรอื่ งราวตา่ งๆ บา้ ง เปน็ เชงิ สงั วาสบา้ ง
ปี่พาทย์ เป็นปฐม กระทั่ง “เครื่องดนตรีไทย” (ในหนังสือ นับเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผสมผสานระหว่างของหลวง
ประวัติเครื่องดนตรีไทย ต�ำนานการผสมวงมโหรีปี่พาทย์และ กับไพร่บ้านพลเมือง ซึ่งมีชีวิตชีวาและมีความสดใหม่ด้วย
เครอื่ งสาย) ของนายธนติ อยโู่ พธ ิ์ อดตี อธบิ ดกี รมศลิ ปากร ซงึ่ ปฏิภาณ ตามหลักฐานภาพเขียนต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มี
รวบรวมพิมพ์เมื่อปี ๒๕๑๙ และของท่านอื่นๆ อีกหลายท่าน คนดีดกระจับปี่ ๑ คนสีซอสามสาย ๑ คนตีโทน (ทับ) ๑ คน
อธิบายว่ามโหรีเป็นวงดนตรีประเภทขับกล่อมประกอบการ ขบั ลำ� น�ำ ๑ รวม ๔ คนเปน็ ปฐม
ขับล�ำน�ำ บ�ำเรอท้าวพระยามหากษัตริย์และเจ้านายชั้นสูง
มาแต่เดิม นักดนตรีน้ันก็น่าจะเป็นผู้หญิง และเข้าใจกันว่า ต่อมามีการเพิ่มร�ำมะนา (น่าจะเป็นของมุสลิมทาง
มโหรนี นั้ พฒั นาการเคลอ่ื นคลายมาจากวงขบั ไม ้ ประกอบการ ตะวนั ออกกลาง) คกู่ บั โทน เพม่ิ เครอื่ งเปา่ คอื ขลยุ่ ๑ เลา คน
สรรเสริญสวดบูชาพระผู้เป็นเจ้ามหาเทพต่างๆ และเป็นบท ขับล�ำน�ำนั้นตีกรับประกอบจังหวะอีกด้วย มีฉิ่งเป็นเคร่ือง
ร�ำพันถึงพระบุญญาบารมีของท้าวพระยามหากษัตริย์ อัน ตีก�ำกับจังหวะที่ท�ำด้วยโลหะอีกคู่ เป็น ๖ คน รวมทั้งคนขับ
เป็นพระราชประเพณีสมโภชต่างๆ ของหลวง เช่น สมโภช บรรเลงเป็นท�ำนองประกอบการขับล�ำน�ำและรับเป็นท�ำนอง
พระเศวตฉัตร สมโภชช้างเผือก สมโภชลงพระอู่เจ้านาย ดนตรตี ามชว่ งและวรรคตอนทเี่ หมาะสม เพอ่ื ขบั กลอ่ มบำ� เรอ
ช้ันเจ้าฟ้า ฯลฯ ประกอบด้วย คนขับ ๑ คน คนสีซอสามสาย ทา้ วไทเมอ่ื ไสยาเปน็ หลกั สว่ นทจ่ี ะทรงพระส�ำราญในเวลาท่ี
๑ คน คนไกวบัณเฑาะว์ ๑ คน เปน็ ข้าราชบรพิ ารผู้ชาย ไม่บรรทมคงเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย ดังมีหลักฐานใน
เพลงยาวต�ำรามโหรี ซ่ึงบอกช่ือล�ำน�ำระเบียบการเรียบเรียง
เมื่อประกอบเป็นวงมโหรีชั้นแรก เพิ่มคนดีดพิณซึ่ง เพลงถึง ๑๓๗ เพลง ช่ือเพลงบางเพลงยังมีกลิ่นอายของ
แตเ่ ดมิ ขบั ลำ� นำ� ไปดว้ ย เหมอื นหนมุ่ สาวชาวบา้ นลา้ นนาขบั ซอ “แขก” อยู่รางๆ เช่น อรุ่ม ยิกิน เนระคันโยค เนระปาตี
ดีดพิณ (ซึง) ด้วยตนเองคนเดียว หรือนาฏกุเวรคนธรรพ์ เป็นต้น น่าจะเป็นต้นของเพลงมโหรีซึ่งมีซอสามสายอันเป็น
ครวญล�ำน�ำกับพิณเย้ยพญาครุฑในเร่ือง กากี แทนที่จะเป็น วัฒนธรรมร่วมกับทางมุสลิมตะวันออกกลาง มาจนมลาย ู
เรื่องการร�ำพันสรรเสริญแบบวงขับไม้ ยกบัณเฑาะว์ออกไป ชวา จากนนั้ ยงั ปรากฏชอ่ื เพลงญป่ี นุ่ ขอม มอญ คละเคลา้ อย ู่
20 วฒั นธ รม