Page 38 - CultureMag2015-3
P. 38
เรอ่ื งย่อพอสังเขป
ต�ำนานพญากง พญาพาน มีหลายสำ� นวน บางแหง่ ๒๓๒๙ เปน็ คนพระปฐมเจดยี ม์ าแตบ่ รรพบรุ ษุ เนอ้ื หาในฉบบั น ้ี
บันทึกเป็นลายลักษณ์ไว้โดยสะกดช่ือตัวละครต่างกัน แต่โดย ขยายความบคุ คล สถานทไ่ี ดล้ ะเอยี ดลออ โดยเฉพาะมลู เหตุ
รวมแลว้ มโี ครงเร่ืองคล้ายคลงึ กนั มีสำ� นวนหนง่ึ กลา่ วไว้ว่า การสรา้ งพระปฐมเจดียซ์ ง่ึ กลา่ วว่าสรา้ งข้ึนโดยพญาพาน
พญากงเป็นเจ้าเมืองนครไชยศรี เมื่อมเหสีประสูติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท
พระโอรส โหรท�ำนายว่าเป็นผู้มีบุญมาเกิด แต่ต่อไปจะฆ่า นิพนธ์ นิราศพระประธม เม่ือปี ๒๓๗๗–๒๓๗๙ ประกอบ
พระองค์ พญากงจึงให้น�ำพระโอรสไปประหาร มหาดเล็ก ดว้ ยสำ� นวนโบราณ งดงามนา่ สนใจศกึ ษายง่ิ นกั ทา่ นกลา่ วถงึ
สงสาร น�ำพระโอรสใส่พาน (เป็นท่ีมาของช่ือ “พญาพาน”) พญาพาลปลูกต้นโพ แต่ต้นโพเตี้ยพิการเพราะมีกรรมท ่ี
ลอยน�้ำไปตามชะตากรรม ฝ่ายยายหอมพบเข้า จึงเล้ียงดูให้ พญาพาลปิตฆุ าต
ได้รับวทิ ยาการ
หม่ืนพรหมสมพัตสร (เสมียนมี) นายอากรเมือง
ครั้นพญาพานเป็นหนุ่มจึงเข้าไปถวายตัวเป็นทหาร สุพรรณบุรี ประพันธ์ นิราศพระแท่นดงรัง เม่ือปี ๒๓๗๙
ในเมืองคูบัว ต่อมาได้ชนช้างกับพญากงแล้วสังหารลง บรรยายวา่ พระยาพานสรา้ งพระปฐมเจดยี เ์ ปน็ ยอดพระปรางค์
ครานน้ั เกดิ ลางว่าคงได้ฆา่ บดิ าเสียแลว้ พาลไปโมโหยายหอม (สี) ทอง สูงเท่านกเขาเหิน
ว่าปิดบัง จึงประหารยายหอมด้วย ภายหลังส�ำนึกผิดจึง
ปรึกษาพระอาจารย์เพ่ือแก้ไขไถ่บาป โดยให้สร้างเจดีย์ใหญ่ สุนทรภู่ ประพันธ์ นิราศพระประธม เมื่อปี ๒๓๘๕
สงู เทา่ นกเขาเหนิ (พระปฐมเจดยี )์ เพอ่ื ทดแทนคณุ บดิ า พรอ้ ม พรรณนาพนื้ ท ี่ ประวตั ิ ความหมาย ไดล้ ะเอยี ดมาก โดยเฉพาะ
กับสร้างเจดีย์ใหญ่อีกองค์ (พระประโทน) เพ่ือทดแทนคุณ ตน้ โพเตยี้ ทา่ นวา่ มขี นาดใหญโ่ ตเทา่ กบั สามออ้ มของพอ้ มสาน
ยายหอม ปลูกอยู่บนโขดดิน แต่พระยาพานฆ่าบิดาพระยากง ต้นโพ
จึงเต้ียเพราะกรรม ต่อมา สุจิตต์ วงษ์เทศ ศิลปินแห่งชาติ
บันทกึ นอกถนิ่ เคยน�ำไปบรรจุท�ำนองเพลงส�ำเนียงมอญ เพ่ือบันทึกเสียง
เผยแพร่
ท่านแต่ก่อนท่ีได้ทราบต�ำนานหรือเดินทางมาใน
ถ่ินนี้ ไดบ้ ันทึกเร่อื งพญากง พญาพาน ไวห้ ลายแง่มุม อาทิ หลวงจักรปาณี (ฤกษ์) ประพันธ์ นิราศพระปฐม
เม่ือปี ๒๔๑๗ ท่านเดินทางในสมัยที่มีคลองเจดีย์บูชาแล้ว
เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค) เรียบเรียง ผ่านแยกล�ำน้�ำห้วยจระเข้ มีด่านขุนพัฒน์ ฯลฯ ท่านขึ้นไป
เร่ืองพระปฐมเจดีย์ เมื่อปี ๒๔๐๘ บรรยายได้ถ่ีถ้วนในด้าน กราบพระบรมธาตุ กราบพระไสยาสน์หินอ่อนซึ่งสลักโดย
ประวตั กิ ารกอ่ สรา้ ง รายละเอยี ด สดั สว่ น เหตกุ ารณ ์ ขณะนน้ั ชา่ งรามญั ทา่ นวา่ พระยาพานสรา้ งเปน็ ยอดปรางค ์ แตข่ ณะนนั้
ท่านสืบพบต�ำนานพระปฐมเจดีย์ห้าฉบับ คือ ฉบับพระยา รชั กาลท ี่ ๔ ไดบ้ รู ณะแลว้ ทา่ นเปดิ ประเดน็ วา่ เรอ่ื งนม้ี คี นเลา่ ไว้
มหาอรรคนิกร ฉบับนายทอง ฉบับพระยาราชสัมภารากร แตกต่างกัน ท่านเคยอ่านพบใน พงศาวดารเหนือ มีเนื้อหา
(เทศ) ฉบับพระยาวิเชียรปรีชา (น้อย) เจ้ากรมราชบัณฑิต ยาวมาก
ฝ่ายพระราชวังบวรในรัชกาลท่ี ๑ และฉบับตาปะขาวรอต
ซ่ึงบันทึกเม่ืออายุ ๗๙ ปี ตาปะขาวรอตผู้น้ีเชื่อกันว่าเกิดปี > รปู ป้ันยายหอม
ในศาลาทวี่ ัดดอนยายหอม เช่อื กันวา่ ยา่ นนเ้ี ป็นบ้านเดิมของยายหอม
ซ่งึ มอี าชพี เลี้ยงเป็ด ผู้คนจึงนยิ มนำ� ตุ๊กตาเป็ดมาถวาย
36 วฒั นธ รม