Page 34 - CultureMag2015-3
P. 34

นา้ อมร กุลดิลกสัมพันธ์                                ท�ำหน้าท่ีเหล่านี้ได้  ส�ำหรับความช�ำนาญขึ้นอยู่กับการผ่าน
       กับงานเช่อื มบาตรทป่ี ระยกุ ต์มาแทนขัน้ ตอนแลน่ บาตร                 งานมามากน้อยแค่ไหน ถ้าหากครอบครัวไหนที่ท�ำบาตร แต่
                                                                            มแี รงงานไมพ่ อกส็ ามารถจา้ งคนงานทำ� บาตรมาทำ� งานแตล่ ะ
โดยส่งให้ร้านจ�ำหน่ายบาตรในชุมชนห้าราย คือ ๑. นางมยุรี                      หนา้ ที่ได้”
(ชา่ งไก)่  เสอื เสรมิ ศร ี  ๒. นายหริ ญั  เสอื เสรมิ ศร ี  ๓. นางอารยี ์
สายรัดทอง  ๔. นางกฤษณา แสงไชย และ ๕. นายสมศักดิ์                                 หากทกุ วนั นกี้ ารทำ� บาตรทบี่ า้ นบาตรสว่ นใหญล่ ดรปู ลง
บพั ชาติ                                                                    เป็นการท�ำของที่ระลึกหรือการสาธิต ข้ันตอนต่างๆ จึงอาจ
                                                                            ปรับเปลี่ยนหรือประยุกต์ตามเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า แต่ถึง
     เมื่อ ๔๐ กว่าปีก่อน ภิญโญ กมลาภรณ์ เคยบันทึก                           อยา่ งไรกไ็ มใ่ ชง่ านทที่ �ำขน้ึ ไดต้ ามลำ� พงั  ทกุ ขนั้ ตอนเปน็ ผลงาน
สภาพการท�ำงานของชาวบ้านบาตรไว้ในวิทยานิพนธ์ระดับ                            ทต่ี อ้ งอาศยั หลายคนมสี ว่ นรว่ มประกอบขน้ึ ดว้ ยความอตุ สาหะ
ปริญญาโท เร่ือง การศึกษาลักษณะชุมชนบ้านบาตร อ�ำเภอ                          และพถิ พี ถิ นั   ทน่ี า่ หว่ งอยบู่ า้ งกค็ อื  ชา่ งฝมี อื เกอื บทงั้ หมดอายุ
ป้อมปราบศัตรพู า่ ย จังหวดั กรุงเทพมหานคร ว่า                               เลยวยั  ๕๐ ปแี ลว้   บางขนั้ ตอนยงั หาผสู้ บื ทอดไมง่ า่ ยนกั   อนงึ่
                                                                            ควรบันทึกไว้ด้วยว่า เพียงภายในปี ๒๕๕๗ ช่างท�ำบาตรรุ่น
     “ในการท�ำบาตรนั้น ต้องอาศัยแรงงานซึ่งกันและกัน                         ใหญ่ได้จากไปในเวลาไล่เลี่ยกันถึงสามคน คือ นายชนะชัย
เน่ืองจากขั้นตอนในการท�ำบาตรมีมาก หากจะท�ำคนเดียว                           อาจสแี ดง  นายสนบั  แดงนอ้ ย และนายอำ� พร ทะนานทอง
เสยี หมด โดยทไี่ มต่ อ้ งใหค้ นอนื่ ชว่ ยเหลอื กเ็ หน็ จะสำ� เรจ็ ลลุ ว่ ง
ไปได้ยาก หรือก็ช้าไม่ทันการ ฉะน้ัน การทำ� บาตรจึงต้องมีผู้                       หลายคนทไ่ี ดม้ าเยอื นบา้ นบาตรมกั กลา่ วตรงกนั วา่ เมอื่
ท�ำหลายหน้าที่ เช่น คนตัดเหล็ก คนประกอบเป็นรูปบาตร                          ได้มาเห็นข้ันตอนการผลิตงานหัตถกรรมนี้ด้วยตัวเองแล้ว
คนเชอ่ื ม คนต ี คนเคาะ คนขดั  คนทานำ�้ มนั  ฯลฯ คนทำ� บาตร                  ประทับใจและภาคภูมิใจท่ีบ้านเมืองเรายังคงสืบทอดศิลปะนี้
แต่ละคนสามารถท�ำได้หลายหน้าที่ เช่น เคาะ ตี ตะไบ ขัด                        ไวใ้ นแผน่ ดนิ  
เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นผู้หญิง ผู้ชาย หรือแม้แต่เด็ก ก็สามารถ
                                                                                 นับเป็นชุมชนตัวอย่างท่ีเปิดรับผู้มาเยือนอยู่ทุกวัน

                                                                            อา้ งองิ  
                                                                            จ�ำนงค์ ทองประเสริฐ. ภาษาไทยไขขาน. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์ 
                                                                            	 แพรพ่ ิทยา, ๒๕๒๘.
                                                                            ปราณ ี กลำ่� สม้ . ยา่ นเกา่ ในกรงุ เทพฯ. ๒ เลม่ . กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ, 
                                                                            	 ๒๕๔๙.
                                                                            พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). พจนานุกรมเพื่อการศึกษา 
                                                                            	 พุทธศาสน์ ชุด คำ� วัด, กรงุ เทพฯ : วดั ราชโอรสสาราม, ๒๕๔๘.
                                                                            วนิ ยั ปฎิ ก จลุ วรรค ภาค ๒. ใน พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ า- 
                                                                            	 ลงกรณราชวิทยาลัย. ๔๕ เล่ม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬา- 
                                                                            	 ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.
                                                                            ผลสำ� รวจพระ-เณร ป ี ๕๗ กวา่  ๓.๔๙ แสนรปู  ชส้ี �ำนกั สงฆจ์ ดทะเบยี น 
                                                                            	 ตง้ั วดั พงุ่ กวา่  ๑,๕๐๐ วัด. มตชิ น. ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
                                                                            ภิญโญ กมลาภรณ์. “การศึกษาลักษณะชุมชนบ้านบาตร อ�ำเภอ 
                                                                            	 ป้อมปราบศัตรูพ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์ 
                                                                            	 ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต คณะโบราณคดี, ๒๕๑๕.
                                                                            สวสั ด ิ์ จนั ทน.ี  นทิ านชาวไร ่ เลม่  ๒. พระนคร : องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา, 
                                                                            	 ๒๕๐๙.
                                                                            สวสั ด ิ์ จนั ทน.ี  นทิ านชาวไร ่ เลม่  ๓. พระนคร : องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา, 
                                                                            	 ๒๕๐๙.

32 วฒั นธ รม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39