Page 33 - CultureMag2015-3
P. 33

ดังที่พระวินัยห้ามภิกษุใช้ของงาม) เคาะแล้วมีเสียงดังกังวาน              บาตรกน็ า่ มากกวา่ ก�ำลงั ผลติ   บา้ นบาตรอาจไมใ่ ชช่ มุ ชนเดยี ว
คล้ายเสียงระฆงั                                                         ทีผ่ ลิตบาตร ทัง้ ช่ือบา้ นบาตรก็ยงั มปี รากฏอยู่ในถิน่ อื่น

     ครั้นเริ่มมีโรงงานผลิตบาตรสเตนเลสที่เรียกกันว่า                         รา้ นสงั ฆภณั ฑย์ า่ นเสาชงิ ชา้  มกั จำ� หนา่ ยบาตรสเตนเลส 
“บาตรปัม๊ ” เขา้ มาแทนที่  การผลิตบาตรท่บี ้านบาตรกค็ อ่ ยๆ             ทั้งชุด คือ บาตร ฝาบาตร ถลกบาตร และเชิงบาตร  ส่วนท่ี
สญู หายลงจนแทบจะหมดสนิ้  กอ่ นจะพลกิ ฟน้ื กลบั มาอกี ครงั้              ชุมชนบ้านบาตรน้ันแม้จะผลิตเฉพาะบาตร ก็ยังมีผู้สนใจมา
ในฐานะงานฝีมือเมื่อราว ๒๐ ปีก่อน และกลายเป็นของท่ี                      เยือนไม่เว้นวัน นอกจากผู้ส่ังท�ำบาตรแบบด้ังเดิมและนัก 
ระลึกส�ำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ตลอดจนเป็นงานทรง                   ท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่นิยมบาตรขนาดเล็ก (ขอบ ๓ น้ิวฟุต
คณุ คา่ ทผ่ี ศู้ รทั ธาวา่ จา้ งเพอื่ นำ� ถวายพระผใู้ หญ ่ ราคาของบาตร  ข้ึนไป) ซ่ึงเป็นลูกค้าหลักแล้ว นักเรียนนักศึกษา นักวิชาการ
ท�ำมอื จงึ สงู กว่า “บาตรป๊มั ” หลายเท่า                                ส่ือมวลชน หรือผู้มีหน้าท่ีการงานเกี่ยวข้องก็มาเท่ียวชมหรือ
                                                                        ขอความรอู้ ยบู่ อ่ ยครงั้  ซงึ่ กไ็ ดร้ บั การตอ้ นรบั ดว้ ยอธั ยาศยั ไมตรี
บา้ น	บาตรวนั นี้                                                       เสมอกัน  เพราะหัวใจของชาวบ้านบาตรไม่ได้มุ่งผลิตสินค้า
     ส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติประกาศเม่ือปี ๒๕๕๗                       เพ่อื ขาย ส่ิงต่างๆ จึงปรับเปล่ียนไปตามยคุ สมัย 
วา่  วดั ในประเทศไทยมใี กล ้ ๔ หมน่ื วดั  สว่ นพระภกิ ษ ุ-สามเณร 
มรี ว่ ม ๓.๕ แสนรปู  หากนบั แคว่ า่ พระสงฆห์ นงึ่ รปู ใชบ้ าตรหนงึ่          ชุมชนบ้านบาตรทุกวันนี้มีอยู่ราว ๑๕๐ หลังคาเรือน
ใบ ก�ำลังการผลิตบาตรของชาวชุมชนบ้านบาตรจึงเป็นไปไม่                     หากเดินเข้าไปในชุมชนบ้านบาตร จะพบเห็นการท�ำบาตร 
ได้ที่จะเพยี งพอตอ่ การใชง้ าน ชวนใหค้ ิดยอ้ นไปว่า แต่เดิมมา           ในข้ันตอนต่างๆ อยู่ท่ัวชุมชน ตั้งแต่ตีขอบ ขึ้นรูป เช่ือม 
แมจ้ ำ� นวนวดั และพระสงฆจ์ ะนอ้ ยกวา่ น ้ี แตส่ ดั สว่ นของการใช้       (แลน่ บาตร) ขนึ้ ลาย  ตเี รยี งเมด็  ฯลฯ ทกุ ขน้ั ตอนเกดิ จากชา่ ง
                                                                        ทผี่ า่ นอายงุ านมาหลายสบิ ป ี สว่ นใหญจ่ ะรบั จา้ งท�ำเฉพาะดา้ น 

           นา้ สมศกั ด ์ิ บัพชาติ (ชา่ งหมู)                             ปา้ กฤษณา แสงไชย วยั  ๖๔ ป ี
มรี างวลั  OTOP ประจ�ำเขต เป็นเครอื่ งประกันคุณภาพ                      กบั บาตรเหล็กตมี อื บ่ม คณุ ภาพสงู

                                                                            รบั ประกันว่าไมเ่ กิดสนิม
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38