Page 8 - CultureMag2015-2
P. 8

ภาพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่                               หากจะกล่าวถึงพระราชกรณียกิจทีท่ รงมีคุณูปการ
ทรงมีสมุดและปากกาในพระหัตถ์อยู่เสมอ เป็นภาพเจนตา                       ต่องานศิลปวัฒนธรรมของไทยคงยากทีจ่ ะพรรณนาได้
ของพสกนิกร แสดงพระจริยวัตรในการเก็บข้อมูลต่างๆ                         ครบถ้วน ในทีน่ ีจ้ ึงขอเลือกน�าเสนอพระอัจฉริยภาพด้าน
พระองค์ทรงได้รับการทลู เกล้าฯ ถวายพระสมัญญานานา                        ศิลปวัฒนธรรมไทยทีน่ ่าสนใจและสมควรเป็นแบบอย่างอัน
อันแสดงความสนพระทัยใฝ่รู้ในศาสตร์ต่างๆ  หนึง่ ในพระ                    งดงามแกป่ วงชนชาวไทย ได้แก่
สมัญญาทีส่ ะท้อนพระอจั ฉริยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมคือ 
“วศิ ษิ ฏศลิ ปนิ ” ทส่ี า� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ         ประดษิ ฐค์ า� เพลง :
กระทรวงวฒั นธรรม นอ้ มเกลา้ ฯ ถวายเม่อื วนั ท่ี ๑๕ กนั ยายน 
๒๕๔๖ ด้วยตระหนักวา่                                                    พระปรชี าสามารถในการ
                                                                       ประพันธ์เพลง
      “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ทรงเป็นวิศิษฏศิลปิน ผู้มีพระอัจฉริยภาพหลายสาขา อาท ิ                         หากกล่าวถึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม-
สาขาวรรณศิลป์ สังคีตศิลป์ และทัศนศิลป์  ทรงมีผลงาน                     บรมราชกมุ าร ี กบั สงั คตี ศลิ ปไ์ ทย  หลายคนจะนกึ ถงึ ภาพเม่อื
ดีเด่นเป็นทีย่ อมรับและประจักษ์ชัดในวงการศิลปะ ทรงเป็น                 ยามทรงเครื่องดนตรีไทยอย่างเชีย่ วชาญ แต่น้อยคนจะรู้ว่า
ปราชญท์ างวชิ าการ บรหิ ารจดั การดา้ นวฒั นธรรมท่ีมคี ณุ ปู การ        ทรงพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เนือ้ เพลงด้วย 
ต่อปวงชนชาวไทย  อกี ทั้งทรงเป็นอัครอุปถัมภกงานทางดา้ น                 เน้อื เพลงพระราชนพิ นธม์ ที ้งั ท่ีมผี ขู้ อพระราชทานบทรอ้ ยกรอง
ศิลปวัฒนธรรมไทยสืบเนื่องมาโดยตลอด  พระราชกรณียกิจ                      ของพระองคไ์ ปขบั รอ้ งประกอบดนตรไี ทย และท่ีทรงพระราช-
และพระราชจริยวัตรอันงดงามนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ                       นิพนธ์ร้อยกรองเพื่อใช้เป็นเนื้อเพลงโดยเฉพาะ  ในบทพระ
อยา่ งหาท่ีสดุ มไิ ด ้ ท่ีพระราชทานแกป่ ระชาชนชาวไทย สมควร             ราชนพิ นธ ์ “เบอ้ื งหลงั การแตง่ เพลงของขา้ พเจา้ ” พระองคท์ รง
ได้รับการเฉลมิ พระเกียรตใิ ห้ปรากฏสืบไป”                               เล่าว่าพระราชนิพนธ์เนือ้ เพลงแรกขณะทีท่ รงศึกษาชัน้ มัธยม
                                                                       ศึกษาตอนต้นทีโ่ รงเรียนจิตรลดา คือเพลง ส้มต�า ซึง่ เป็น
      ความเป็น “วิศิษฏศิลปิน” ของสมเด็จพระเทพรัตน-                     เพลงลูกทุ่ง  หลังจากนั้นทรงพระราชนิพนธ์เนือ้ เพลงส�าหรับ
ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี เปน็ ท่ปี ระจกั ษแ์ กพ่ สกนกิ รมา         ขบั รอ้ งประกอบเพลงไทยเดมิ อกี หลายเพลง เชน่  เพลง เตา่ กนิ -
ตงั้ แต่ยังทรงพระเยาว์  พระองค์สนพระทัยและชืน่ ชอบใน                   ผักบุ้ง พญาโศก เต่าเห่ ลมพัดชายเขา ปลาทองเถา อกทะเล
ภาษาและศิลปวัฒนธรรมไทย ท�าให้ทรงตดั สินพระทัยศึกษา                     และเพลง รับขวัญบณั ฑติ ใหม่ เปน็ ตน้
สายศิลปะในชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย และทรงเลือกเรียน
สาขาประวัติศาสตร์และภาษาในระดับอุดมศึกษา ดังความ                             บทเพลงพระราชนิพนธ์ทที่ รงก�ากับดนตรีไทย
ตอนหนึง่ ในพระราชนิพนธ์ความเรียงเรือ่ ง “ถ้าข้าพเจ้ามี                 แสดงให้เห็นว่าทรงรู้จักท่วงท�านองดนตรีไทยอย่างแตกฉาน 
โอกาสไปศกึ ษาในมหาวิทยาลยั ” ว่า                                       ทรงเลอื กบรรจเุ พลงให้สอดคล้องกับคา� และเสยี งในบทกลอน
                                                                       อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้เนื้อร้องและท�านองสอดประสาน
      “ข้าพเจ้าสนใจในวิชาทเี่ กี่ยวกับภาษาไทยและภาษา                   สื่อความหมายของเพลงได้ประทบั ใจผู้ฟัง เช่นเพลง รับขวัญ
ต่างประเทศต่างๆ จึงคิดจะเข้าเรียนในคณะอักษรศาสตร ์                     บัณฑิตใหม่ (๒๕๒๐) ทรงก�าหนดเพลงทใี่ ช้ประกอบคือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึง่ สอนภาษาไทยและภาษาต่าง                       ข้นึ พลับพลา และ แขกบรเทศ
ประเทศท่ีขา้ พเจา้ ชอบ หรอื ไมก่ ค็ ณะโบราณคด ี มหาวทิ ยาลยั
ศิลปากร หรือคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                             หรือในการพระราชนิพนธ์บทร้องส�าหรับเพลงเถา มี
วชิ าเหลา่ น้เี ปน็ วชิ าทขี่ า้ พเจ้าชอบ และคดิ วา่ เป็นประโยชนต์ อ่  ผวู้ เิ คราะหว์ า่ ทรงใชห้ ลกั ทางวชิ าวรรณกรรมมาชว่ ย เชน่ เพลง 
ตนเองและประเทศชาตอิ ยา่ งแทจ้ ริง”

๖ วฒั นธ รม
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13