Page 9 - Culture1-2018
P. 9

ครูเอ๋ยครูสอน         เสดื้องกร ต่อง่า
                                        ว่าครูสอนให้ผูกผ้า        สอนข้าให้ทรงก�าไล

                                        สอนให้ครอบเทริดน้อย  แล้วจับสร้อยพวงมาลัย
                                        สอนให้ทรงก�าไล            สอดใส่ซ้ายใส่ขวา

                                        สอดใส่ข้างซ้าย            ตีค่าได้ห้าพารา

                                        แล้วสอดใส่ข้างขวา      ตีค่าได้ห้าต�าลึงทอง
                                        ตีนถีบพนัก                สองมือชักเอาแสงทอง

                                        หาไหนไม่ได้เสมือนน้อง  ท�านองพระเทวดา






                                ศิลปะการแสดงของคนไทย ไม่ว่าการแสดงชนิดไหน ต้องมีครู และ
                                 บทกลอนโนราข้างต้น คือ บทครู บทหนึ่ง ซึ่งชาวโนราหลายส�านัก
                                 ได้เริ่มต้นการร�่าเรียนโนรา ด้วยการหัดร�า หัดร้องบทครูสอนบทนี้
                                  ดังนั้น ณ ที่นี้ ผู้เขียนขอแสดงความคารวะ “ครูโนรา” ทั้งหลาย
                                                  ณ จุดเริ่มต้นข้อเขียนเรื่องนี้




             โนรา เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านภาคใต้ ซึ่งนอกจาก สัญชาติเมียนมาทั้งหลาย มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น
           จะเป็นที่นิยมชมชอบกันโดยทั่วไปแล้ว ยังอาจกล่าวได้ว่า โนรา  คนไทยภาคกลาง เรียก มโนราห์ คนอีสาน คนลาว เรียก สีทน
           คือสัญญลักษณ์อย่างหนึ่งของภูมิภาค ภาคใต้ ด้ามขวานทองของ มโนรา คนเหนือ คนไทใหญ่ เรียก พระสุธน มโนราห์ เป็นต้น

           เมืองสยาม ประเทศไทยเรานี้ด้วย                             เรื่อง มโนราห์ เมื่อเดินทางไกล มาถึงภาคใต้ของ
               โนรา เป็นภาษาพื้นบ้านปักษ์ใต้ โนรา ไม่ใช่ มโนราห์ แต่ ประเทศไทย ก็มีการประสานประสมกลมกลืนกับภูมิปัญญาและ
           ทว่าแน่นอนว่า โนรา มีรากฐานมาจากวรรณกรรมพื้นบ้านของ  เรื่องราวความเป็นมาเป็นไปต่าง ๆ ของพื้นบ้านปักษ์ใต้ จนในที่สุด
           คนไทยที่ภาคกลางเรียกว่าเรื่อง มโนราห์ เรื่องเดียวกันนี้แหละ  ก็เกิดแนวทางเฉพาะตนขึ้นเป็นเอกเทศ กลายเป็นศิลปะการแสดง
           เรื่อง มโนราห์ เป็นนิทานพื้นบ้าน มีที่มาจากชาดก หรือเรื่องเล่า แบบเฉพาะของภาคใต้ การแสดงโนรา ซึ่งไม่ได้เล่นเพียงเรื่อง
           ประวัติในการเสวยชาติต่างๆ ของพระพุทธเจ้าก่อนที่จะเสวยชาติ มโนราห์ อีกต่อไป แต่เล่นเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย อีกทั้ง

           เป็นเจ้าชายสิทธัตถะและตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ชาดกเหล่านี้  ยังมีส่วนเพิ่มเติมต่อขยายกลายเป็น วิถีวัฒนธรรมที่ไม่เพียงแต่
           มีจ�านวนมากมายมีทั้งชาดกในนิบาต คือเรื่องราวที่มีการเขียนไว้ จะเกี่ยวข้องเฉพาะกับศิลปะการแสดงเท่านั้น ยังมีอิทธิพล
           ในพระไตรปิฎก และ ชาดกนอกนิบาต เป็นชาดกที่มีการแต่ง  ต่อเนื่องไปจนถึงวิถีการด�าเนินชีวิต มีความเชื่อมีความศักดิ์สิทธิ์
           เพิ่มเติมแต่อ้างอิงว่าเป็นการเสวยชาติต่างๆ ขององค์พระพุทธเจ้า    ต่อๆ ไปอีก จนน่าจะกล่าวได้ว่าชื่อเรียกภาษาใต้ว่า โนรา วันนี้
               เรื่อง มโนราห์ เป็นชาดกในนิบาต มีเล่า มีเล่น กันทั่วไป ไม่ได้เป็นแค่ศิลปะการแสดง หากแต่ได้ก้าวไกลไปถึงความเป็น

           ในหมู่คนไทย คนลาว คนเขมร กระทั่งชาวเชื้อชาติไทใหญ่   ศาสตร์ คือ โนราศาสตร์ ได้เลยทีเดียว


                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑  7
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14