Page 47 - Culture1-2018
P. 47

๑. มวยไชยา แสดงการซ้อม
                                          จรดมวยและย่างสามขุม

                                        ๒. ประเจียดหัว ประเจียด
                                  ๑       แขน และผ้าคาดกระโปก     ๒
                                          ในการแต่งตัวของมวยไชยา



              หลังจากที่มวยไชยาในต�านาน ได้ถือก�าเนิดขึ้นแล้ว ก็เจริญ  ชาวมวยไชยาเมื่อมีการฝึกซ้อมการประลองมวยสม�่าเสมอ ฝีไม้
          รุ่งเรืองขึ้นตามล�าดับ การชกมวยจึงเป็นมหรสพส�าคัญอย่างหนึ่ง ลายมือจึงมีพัฒนาการขึ้น นับจากนั้นศาสตร์มวยที่เป็นรูปแบบ
          ส�าหรับงานฉลองหรือสมโภชต่าง ๆ และมาเจริญสูงสุดครั้งหนึ่งคือ  เฉพาะของมวยไชยา จึงได้รับการส่งเสริมต่อยอดกันต่อมาเรื่อยๆ

          สมัยศาลาเก้าห้อง ซึ่งสร้างโดย พระยาวจีสัตยารักษ์ อุทิศให้เป็น    แล้วก็มาถึงเหตุการณ์ส�าคัญครั้งหนึ่ง เมื่อท่านพระยา
          สาธารณสมบัติ                                          วจีสัตยารักษ์ เจ้าเมืองไชยาได้ส่งนักมวยของท่าน คือ นายปล่อง
              ศาลาเก้าห้องนี้ ผู้สร้างตั้งใจสร้างให้เป็นที่พักคนเดินทาง   จ�านงทอง ไปชกหน้าพระที่นั่งพระพุทธเจ้าหลวงกับนักมวยโคราช
          แล้วยังใช้เป็นที่สมโภชพระพุทธรูปประจ�าเมืองไชยาในงานแห่พระ ซึ่งนายปล่อง จ�านงทอง สามารถเอาชนะนักมวยจากโคราชได้ด้วย
          หรือชักพระทางบก ในเดือน ๑๑ ของทุกปีด้วย ในงานแห่พระและ ท่าเสือลากหาง จึงท�าให้ ท่าเสือลากหาง ถูกน�ามาเป็นท่าไหว้ครู

          งานสมโภชนี้เอง สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ การชกมวย เป็นการ ของมวยไชยาเป็นพิเศษ และนายปล่อง จ�านงทอง ยังได้รับ
          มหรสพสมโภชประจ�าทุกปี ศาลาเก้าห้องในสมัยนั้นจึงนับได้ว่ามี บรรดาศักดิ์จากการชกหน้าพระที่นั่งฯ ครั้งนั้นเป็น “หมื่นมวยมีชื่อ”
          คุณประโยชน์อเนกอนันต์ในการสืบสานมวยไชยาต่อจากอดีต  อีกด้วย ซึ่งนักมวยที่ได้รับบรรดาศักดิ์ครั้งนั้นได้แก่ มวยหมัด
          สู่ปัจจุบัน เพราะศาลานี้ได้ใช้เป็นที่จัดการประลองมวยอยู่เป็นประจ�า  หนักโคราช ได้เป็นหมื่นชะงัดเชิงชก มวยฉลาดลพบุรี เป็น


                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑  45
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52