Page 113 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 113

ไปทั่ว พระองค์ทรงเกี่ยวข้าวอยู่นานจนเสร็จ พระเสโทไหลชุ่ม  พระราชทานเคียวด้ามทองค?าคู่พระหัตถ์ที่ทรงใช้ในการเกี่ยวข้าวครั้ง
            พระวรกายแต่พระพักตร์ของพระองค์ปรากฏรอยแย้มสรวล สร้าง ประวัติศาสตร์นี้แก่จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถาน
            ความชื่นชมยินดีแก่ผู้ที่มาเฝ้าชื่นชมพระบารมี ในครั้งนั้นพระองค์  แห่งชาติชาวนาไทยตราบจนปัจจุบัน ร่วมกับพันธุ์ข้าวพระราชทาน
            ทรงพระราชทานพันธุ์ข้าวให้ข้าราชการทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  รวงข้าวมงคล ๙ รวง แรกที่ทรงเกี่ยว ซึ่งเป็นข้าวเจ้าพันธุ์ กข๒๓
            ตัวแทนชาวไร่ชาวนา และเจ้าของนา                       และอุปกรณ์ที่ทรงใช้อื่น ๆ อาทิ บัวรดน?้า ขันน?้า พลั่ว รถไถ และ
                  หลังจากวันนั้นทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระบรม- เครื่องนวดข้าว เป็นต้น ที่พิพิธภัณฑ์ยังได้จัดแสดงภาพถ่ายและ
            ฉายาลักษณ์ในการเสด็จฯ ท?านาทั้ง ๓ ครั้งแก่ท่านผู้ว่าฯ ไว้จัดแสดง  จ?าลองเหตุการณ์ส?าคัญทั้ง ๓ ครั้งนี้ไว้ด้วย
            อันเป็นที่มาของการสร้างพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชาวนาไทยที่จังหวัด
            สุพรรณบุรี โดยสร้างขึ้นที่หน้าศาลากลางหลังเก่า ปัจจุบันได้ย้ายไป ธ ทรงเป็นขวัญข้าวชาวนาไทย
            ที่ศูนย์ราชการจังหวัดสุพรรณบุรีบริเวณศาลากลางจังหวัดแห่งใหม่    เป็นที่ประจักษ์ว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร-
            อยู่ในความดูแลของกรมศิลปากร” นายสุขสันต์เล่าด้วยความภาคภูมิใจ  เทพยวรางกูร ทรงเจริญรอยตามพระยุคลบาทพระบรมราชชนกในด้าน

            ในเกียรติประวัติที่ได้ถวายงานรับใช้และได้ชื่นชมพระบารมีอย่างใกล้ชิด การเกษตร โดยเฉพาะข้าวและการท?านา จากการที่พระบาทสมเด็จ
                                                                 พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงปลูกฝังในวิถีการเกษตรไว้
            เคียวด้ามทองค?าคู่พระหัตถ์                           ตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ เมื่อเจริญวัยขึ้นยังได้โดยเสด็จฯ พระบรมราช-

                  ในการเสด็จฯ ทรงเกี่ยวข้าวเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๙  ชนกไปทั่วถิ่นแคว้นแดนไทยเป็นเนืองนิจ เพื่อบ?าบัดทุกข์บ?ารุงสุขของ
            นั้น ข้าราชการในจังหวัดสุพรรณบุรีได้ร่วมกันจัดท?าเคียวด้ามทองค?า  พสกนิกรชาวไทยอย่างมิรู้เหน็ดเหนื่อย พระราชจริยวัตรอันงดงามของ
            ความยาว ๔๒ เซนติเมตร ด้ามเคียวหุ้มด้วยทองค?า น?้าหนัก ๗ บาท  ทั้งสองพระองค์นับเป็นแบบอย่างและเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่าง
            ๓ สลึง สลักเสลาเป็นลายกนกเครือวัลย์ คอเคียวมีความโค้งมาก หาที่สุดมิได้ของปวงชนชาวไทยที่โชคดีมีพระมหากษัตริย์ไทยที่ทรง
            แบบคอนกกระทุงจึงเรียกว่า “เคียวคอนกกระทุง” พระองค์ทรง ห่วงใยดูแลทุกข์สุขของราษฎรเสมอมา




































             ๔


                                                                                           เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    111
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118