Page 118 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 118

ภายในที่ดินพระราชทานส?าหรับโครงการ
          เกษตรวิชญา แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน ได้แก่
               ส่วนที่ ๑ เนื้อที่จ?านวน ๑๓๘ ไร่ จัดให้เป็น
          พื้นที่ส่วนปฏิบัติราชการ เป็นศูนย์กลางของโครงการ
          มีอาคารศูนย์เรียนรู้ อาคารฝึกอบรม และอาคารศูนย์
          อภิบาลเด็กสายใยรักจากแม่สู่ลูก โดยอาคารทั้งหมด
          ตั้งอยู่ท่ามกลางบรรยากาศที่สวยงามด้วยแมกไม้
          นานาพันธุ์ประกอบกับทิวเขาสลับซับซ้อน ทั้งไม้ผล
          ไม้ดอก และหลากหลายพืชไร่ในแปลงสาธิตจุดเรียนรู้
          การพัฒนาการเกษตรแบบครบวงจร

               ส่วนที่ ๒ เนื้อที่จ?านวน ๓๒ ไร่ เป็นพื้นที่
          ทรงงานส่วนพระองค์
               ส่วนที่ ๓ เนื้อที่จ?านวน ๑๓๙ ไร่ เป็นพื้นที่
          พัฒนาการเกษตร มีการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน?้า
          ฟื้นฟูปรับปรุงดิน พัฒนาแหล่งน?้า ส่งเสริมอาชีพ
          เป็นศูนย์เรียนรู้ และมีเกษตรกรเข้าร่วมในโครงการ
          จ?านวน ๖๐ ครอบครัวมาตั้งแต่เริ่มโครงการ ถึงวันนี้
          นับได้กว่า ๑๕ ปีแล้วที่พวกเขาท?าการเกษตรในพื้นที่
          ตามหลักการในพระราชด?าริ ทุกคนมีอาชีพและ    ๑
          รายได้ที่มั่นคง โดยเฉพาะผลผลิตจากการปลูก
          กาแฟ และหอมหัวใหญ่ รวมทั้งพันธุ์พืชที่ก?าลังได้รับ
          การทดลองอีกมากมาย                        ป่าดิบเขา และกลายเป็นผืนป่าสมบูรณ์ที่มีชายป่า   ๑ อาณาบริเวณที่ดิน
               ส่วนที่ ๔ เนื้อที่จ?านวน ๑๒๓ ไร่ ถูกจัดการ  เชื่อมต่อกับป่าอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย  พระราชทานมากกว่า
          ให้เป็นพื้นที่วนเกษตรและธนาคารอาหารชุมชน       กล่าวได้ว่าสถานที่แห่งนี้คือ “แหล่งขุมทรัพย์  พันไร่ ในความหลากหลาย
                                                                                                ของสภาพพื้นที่และลักษณะ
          ผลจากการพัฒนาฟื้นฟูสภาพป่าให้กลับมาอุดม แห่งปัญญาทางการเกษตร” ที่รวบรวมความรู้ทางการ   ภูมิประเทศถูกจัดการให้
          สมบูรณ์ด้วยพรรณไม้หลากหลาย ทั้งอนุรักษ์ต้นน?้า เกษตรทั้งด้านวิชาการและภูมิปัญญาชาวบ้านท้องถิ่น   มีประโยชน์สูงสุดทั้งด้าน
                                                                                                การเกษตรและด้านการ
          ล?าธาร ท?าให้เกิดแหล่งอาหารป่าตามธรรมชาติ และ ความส?าเร็จถูกสร้างขึ้นด้วยการผสมผสานทั้งเทคนิค  อนุรักษ์ธรรมชาติ
          บรรดาพืชสมุนไพรท้องถิ่นมากชนิดก็กลับมาเกิดขึ้น การเกษตรสมัยใหม่ควบคู่ไปกับวัฒนธรรมการเกษตร   ๒-๔ ชาวเกษตรดั้งเดิม
          อย่างอุดม ความอุดมสมบูรณ์ทั้งหมดพลิกฟื้นกลับ พื้นบ้าน ทั้งในแง่ของการอนุรักษ์และฟื้นฟูธรรมชาติป่าไม้    ทั้ง ๖๐ ครอบครัวร่วมมือ
                                                                                                กับโครงการเกษตรวิชญา
          มาได้เพราะความร่วมมือของชาวบ้านและโครงการฯ  และการน?าองค์ความรู้ภูมิปัญญาดั้งเดิมชองชาวบ้าน   สร้างผืนแผ่นดินพระราชทาน
               ส่วนที่ ๕ เนื้อที่จ?านวนกว่า ๙๐๐ ไร่ หรือกว่า เกษตรกรท้องถิ่นมาร่วมกับวิชาการเกษตรและวิชาการ  ให้เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้
          ร้อยละ ๗๐ ของพื้นที่โครงการฯ ถูกก?าหนดให้เป็น พัฒนาที่ดินกลายเป็นวิถีปฏิบัติอย่างมีเหตุผลตามแนว   คู่แหล่งอาชีพที่มั่นคง
          พื้นที่ป่าไม้อนุรักษ์ตามธรรมชาติ โดยความร่วมมือ  พระราชด?าริ เพื่อให้เป็นแหล่งความรู้ความเข้าใจในการ
          กับกรมป่าไม้ในการจัดระบบการรักษาป่า ทั้งยังมีการ เกษตรที่ต้องอิงอาศัยธรรมชาติอย่างยั่งยืน ให้เกษตรกร
          จัดการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้วย มีเส้นทาง  ในพื้นที่และรอบ ๆ เข้าถึงง่ายในการใช้ประโยชน์และมี
          เดินป่าศึกษาธรรมชาติที่สวยงามลัดเลาะไปตาม  ส่วนร่วม ชาวบ้านมีรายได้ที่มั่นคง มีความสุขเพียงพอ



          116
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123