Page 32 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 32
ภาพบนและภาพหน้าขวา : ภาพประกอบในหนังสือพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก นอกจากความสวยงามสุนทรีย์ ด้วยฝีมือของ ๘ ศิลปิน
ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงคัดเลือกและโปรดเกล้าฯ ให้วาดภาพประกอบแล้ว ยังบรรยายเรื่องได้สนุกเข้าใจง่าย
พระมหาชนกจึงมีคุณลักษณะของความเป็นมนุษย์ ๒ ที่จะซึมซับและน?าไปปฏิบัติ รวมทั้งการต่อยอดความคิด เพื่อให้การ
ประการที่โดดเด่นมาก ๆ ประการแรกคือ “ความเพียร” ประการ เรียนรู้แตกยอดขยายฐานความคิดต่อไปอีก
ที่สองคือ “ปัญญา” โดยในชั้นแรก ควรมีการเสวนา หรือให้ความรู้ความเข้าใจ
นั่นแปลว่าพระองค์ผู้นิพนธ์ ทรงเน้นให้สังคมมองเห็นความ แก่คุณครูก่อน เพื่อจะได้น?าไปถ่ายทอดแก่เด็ก ๆ ได้ตรงตามเป้า
ส?าคัญของเรื่องความเพียร (ซึ่งต้องประกอบด้วยความอดทน ความ ส่วนสื่อภาพยนตร์หรือการแสดงเป็นละคร ขอให้เป็นผลที่ตามมา
มุ่งมั่นด้วย) ของพระมหาชนกที่ว่ายน?้าข้ามทะเลเจ็ดวันเจ็ดคืน เมื่อ ภายหลัง เป็นการให้เด็กได้จินตนาการจากตัวหนังสือด้วยตนเอง
เกิดวิกฤตชีวิตและเกิดการสนทนากับนางมณีเมขลาขณะลอยคออยู่ ก่อนนั่นเอง
ในทะเล อันชี้ให้เห็นปัญญาก่อนจะได้รับการช่วยเหลือ และน?าไป จากปัญหาเรื่องระบบการศึกษาของไทยนับวันก็จะยิ่งตกต?่า
สู่เรื่องการตั้งสถาบันการศึกษา “โพธิวิชชาลัย” คุณธรรมทั้งสอง ลง อันเกิดจากหลายปัจจัย บ้างว่าเพราะนโยบายการศึกษาของชาติ
ประการนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรง ไม่ดี เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาตามนโยบายพรรคการเมือง บ้างว่าเพราะ
เลือกสรรแล้วว่าเหมาะแก่ประชาชนคนไทยของพระองค์ บุคลากรทางการศึกษาคุณภาพลดลง ผลลัพธ์ปรากฏอยู่ที่คุณภาพของ
เมื่อเป็นเช่นนี้ ดิฉันจึงคิดว่าพระราชนิพนธ์เล่มนี้สมควร เด็กนักเรียน พื้นฐานการอ่านไม่พอ เด็กไม่พร้อมจะเรียนรู้ ไม่มีความ
ที่จะได้รับการขานรับจากรัฐบาลและประชาชนชาวไทย ให้สมกับ อดทน ไม่มีความเพียร สารพัดสารพันที่กลายเป็นปัญหาของสังคม
พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ดังนี้ ดิฉันคิดว่าการก?าหนดนโยบายให้เด็กอ่านหนังสือพระราช-
๑. นโยบายจากรัฐบาล นิพนธ์พระมหาชนก ทั่วประเทศจะท?าให้พื้นฐานความคิดของเด็ก
รัฐบาลควรก?าหนดให้พระราชนิพนธ์พระมหาชนกเป็น เป็นหนึ่งเดียวกัน คือ มีปัญญาและมีความเพียร จากนั้นกระทรวง
หนังสือเล่มที่เด็กนักเรียนทุกคนต้องอ่าน โดยเริ่มจากฉบับการ์ตูน ศึกษาธิการก็ต้องก?าหนดหนังสือเล่มอื่น ๆ ให้เด็กและเยาวชนอ่าน
ในชั้นประถม และฉบับจริงในชั้นมัธยม ทั้งนี้มิใช่การอ่านในฐานะ ด้วยเพื่อเป็นการต่อยอดความคิด ท?าให้เด็กมีทัศนะหลากหลาย
หนังสือที่จะเก็บไว้บนหิ้ง แต่เป็นหนังสือที่ต้องอ่านในฐานะหนังสือ มีความคิดกว้างขวาง ยอมรับและเข้าใจคนอื่นได้ง่ายขึ้น
30