Page 30 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 30
จากปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ จวบจนวันนี้ เป็นเวลากว่า ๓๐ ปี ๑. ด้านวรรณศิลป์
ที่คนไทยและชาวโลกได้รับรู้ถึงพระสมัญญา “อัครศิลปิน” อัน ๒. ด้านจิตรกรรมและประติมากรรม
แสดงถึงพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาชาญในงานศิลปะหลายแขนง ๓. ด้านทัศนศิลป์ (ภาพถ่าย)
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ๔. ด้านดุริยางคศิลป์
ทว่าก็เป็นเวลาเนิ่นนานพอที่อาจจะให้เกิดการหลงลืมใน ๕. ด้านวาทศิลป์
รายละเอียด อีกทั้งยังมีอนุชนรุ่นหลังอีกจ?านวนมากที่ยังไม่ได้ ๖. ด้านสถาปัตยกรรม
รับรู้ หรือยังไม่เข้าใจพระสมัญญาดังกล่าว กระทั่งอาจน?าไปสู่ความ ทั้งนี้ด้วยส?านึกในพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่คณะกรรมการ
เข้าใจผิดว่า ด้วยเพราะพระองค์ทรงด?ารงสถานะเป็นพระประมุข วัฒนธรรมแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๙ ที่ว่า
ของชาติ จึงย่อมต้องเป็น “อัครศิลปิน” ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริง
พระสมัญญานี้เกิดขึ้นจากพระอัจฉริยภาพทางศิลปะอย่างหาที่สุด “คนท?างานศิลปะ ต้องรู้เรื่องวิชาการและรู้หลักวิทยาศาสตร์
มิได้ของพระองค์โดยแท้ คนท?างานวิชาการก็จะต้องรู้หลักวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันก็
จึงตระหนักว่าถึงเวลาอันเหมาะควรแล้วที่เราจะมาทบทวน ต้องมีใจทางศิลปะ จึงจะสามารถพัฒนางานให้ดีได้ และคนท?างาน
ถึงพระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพทางศิลปะด้านต่าง ๆ วิทยาศาสตร์ก็ท?านองเดียวกัน ต้องมีความรู้ทางด้านวิชาการ
ของพระองค์ท่านอย่างจริงจัง ผ่านทัศนะ มุมมอง ของเหล่าศิลปิน และต้องมีใจรักศิลปะ ตั้งใจท?าอะไรให้ดีขึ้น สรุปว่าทั้งสามส่วน
แห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผู้ที่สังคมไทยและสังคมโลก เป็นความส?าคัญซึ่งต้องเกี่ยวเนื่องกัน งานศิลปะมีความส?าคัญ
ยอมรับแล้วว่ามีความเชี่ยวชาญงานศิลป์แต่ละด้านอย่างแท้จริง ต่องานทั้งปวง ศิลปินเป็นบุคคลที่มีความส?าคัญสมควรจะยกย่อง
รวม ๖ ด้าน คือ เชิดชูเกียรติต่อไป”
28