Page 24 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 24

หลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จ-
                     พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเริ่มพระราชกรณียกิจด้วยการเสด็จพระราชด?าเนินเยี่ยมราษฎร
                     ในพระราชอาณาเขตเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ภาคกลางในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ตลอดเรื่อยไปจนถึงปี
                     พ.ศ. ๒๕๐๒ ครบทั่วทุกภาคทั้งอีสาน เหนือ ใต้ ตะวันตก-ออก ทั้งด้วยขบวนรถยนต์ รถไฟพระที่นั่ง
                     และโดยที่มีราษฎรมาคอยเฝ้ารับเสด็จอยู่อย่างเนืองแน่นไปในทุกแหล่งแห่งที่ ไม่ว่าจะเป็นในเมืองใหญ่
                     เมืองน้อย หรือว่าตามป่าเขาในท้องถิ่นทุรกันดารก็ตาม


                     เมื่อได้ทรงแลเห็นถึงทุกข์สุขของราษฎรที่มาเข้าเฝ้า  มหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงสร้างความผูกพันระหว่างประชาชนกับ
               อย่างใกล้ชิดด้วยความจงรักภักดี นี่จึงเป็นที่มาของพระราช  พระมหากษัตริย์อย่างต่อเนื่องมาตลอดโดยไม่เคยหยุดชะงักและ

               ปณิธานอันแน่วแน่ที่จะทรงงานเพื่อบ?าบัดทุกข์บ?ารุงสุขให้  โดยมิยอมย่อท้อ
               แก่ราษฎรทั้งปวง                                      โครงการต่าง ๆ มากมายเหล่านี้ไม่ว่าจะมีชื่อเรียกเป็นอย่างไร
                     โครงการต่าง ๆ มากกว่า ๔,๐๐๐ โครงการได้เกิดขึ้น  โครงการหลวงหรือโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด?าริ หรือ
               อย่างต่อเนื่อง ถัดจากนั้นมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-  โครงการส่วนพระองค์ และไม่ว่าจะเป็นงานทางด้านการสาธารณสุข
                                                              การศึกษา การเกษตร ตลอดจนถึงการแก้ปัญหาน?้าท่วม ฝนแล้ง และ
                                                              การจราจร อีกทั้งโครงการการสังคมสงเคราะห์ และมูลนิธิอื่น ๆ นั้น
                                                              เป็นที่รู้กันดีว่าแต่ละโครงการ แต่ละงาน ล้วนต้องมีขั้นตอน และ
                                                              มีรายละเอียดต่าง ๆ ในการด?าเนินงานมาก ที่ยิ่งกว่าสิ่งใดจะต้อง
                                                              ใช้เวลาความอดทนและรอบคอบ เพราะแต่ละโครงการจะต้อง
                                                              ใช้ระยะเวลาเป็นนานปีกว่าจะเห็นผล
                                                                    ทศพิธราชธรรมในข้อตบะกับขันติ คือความเพียรกับความ
                                                              อดทนของในหลวงรัชกาลที่ ๙ จึงต้องนับว่าสูงส่งมาก สอดคล้อง
                                                              กับความเพียรที่ปรากฏอยู่ในพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก
                                                              ดังความตอนหนึ่งว่า

                                                                    “ดูก่อนเทวดา เราไตร่ตรองเห็นปฏิปทาแห่งโลก และอานิสงส์
                                                              แห่งความเพียร เพราะฉะนั้นถึงจะมองไม่เห็นฝั่ง เราก็ต้องพยายาม
                                                              ว่ายอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร”
                                                                    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็น
                                                              ผู้สูงส่งด้วยวิริยะความเพียรจึงเป็นที่มาของพระบรมเดชานุภาพ
                                                              อันหาที่สุดไม่ได้ดังเป็นที่ประจักษ์อยู่















          22
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29