Page 22 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 22
เอาความสุขของราษฎรเป็นใหญ่ และต้องทรงปฏิบัติธรรม ปฏิบัติ ๓. บริจาคหรือปริจาคะ หมายถึง การเสียสละความสุข
พระองค์ถูกต้องตามธรรมทั้งปวงให้เป็นตัวอย่าง ตลอดจนต้อง ความส?าราญส่วนตัว เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ราษฎร หรือ
ทรงชักน?าให้ผู้อื่นอยู่ในธรรมนั้นด้วย เพื่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
พระมหากษัตริย์จะต้องอยู่ในธรรมด้วยพระองค์เอง จะต้อง ๔. อาชวะ หมายถึง ความซื่อตรง ความมุ่งมั่นตั้งใจจริง
เป็นผู้รักษาธรรม แล้วเป็นผู้สอนธรรมให้แก่ผู้อื่น รวมทั้งจะต้อง ๕. มัทวะ หมายถึง ความอ่อนโยน ความสุภาพ และความ
ใช้พระราชอ?านาจนั้นปกป้องผู้ประพฤติธรรม ส่วนพระราชอ?านาจ มีอัธยาศัยนุ่มนวล ไม่ถือตัว ตลอดจนหมายถึง ความสง่างาม และ
อันล้นพ้นที่มีอยู่ก็ถูกจ?ากัดอยู่ด้วยธรรมนั่นเอง ท่วงทีอันเป็นทั้งที่รักและย?าเกรง
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์บอกว่า หลักธรรมศาสตร์ท?าให้พระมหา- ๖. ตบะ หมายถึง ความเพียร การข่มใจ และความทรงเดช
กษัตริย์หรือพระเจ้าแผ่นดินไทยไม่หลุดไปจากราษฎรคือ ไม่อยู่ อันเป็นที่มาของพระบรมเดชานุภาพ
ห่างไกลราษฎร แต่อยู่ในฐานะใกล้ชิดและรู้ทุกข์สุขของราษฎรเป็น ๗. อักโกธะ หมายถึง ความไม่โกรธ ไม่ลุแก่อ?านาจ หรือว่า
ส?าคัญอยู่เสมอ มีความเมตตาเป็นธรรมประจ?าใจอยู่เสมอ
ทศพิธราชธรรมก็คือรายละเอียดที่ปรากฏอยู่ในพระธรรมศาสตร์ ๘. อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียนกดขี่ ไม่หลง
ที่หมายถึงธรรม ๑๐ ข้อที่พระมหากษัตริย์จะต้องทรงปฏิบัติ ระเริงในอ?านาจจนขาดความกรุณา
๙. ขันติ หมายถึง ความอดทน อดกลั้น ทนต่อการงานที่
ทศพิธราชธรรมตามที่ได้มีการอธิบายกันไว้สรุปได้ดังนี้ ตรากตร?าไม่ท้อถอย ไม่ยอมหมดก?าลังใจ และไม่ละทิ้งการงานที่
๑. ทาน หมายถึง การให้ การแบ่งปัน การเอื้อเฟื้อ ทั้งทางกาย เป็นการบ?าเพ็ญโดยชอบธรรม
และใจ ตลอดจนถึงการบ?าเพ็ญสาธารณประโยชน์ เสียสละ สงเคราะห์ ๑๐. อวิโรธนะ หมายถึง การยึดมั่นในธรรม สรุปหมายถึง
อนุเคราะห์ประชาราษฎรทั่วไป การยึดเอาความเที่ยงธรรม ความถูกต้องเป็นที่ตั้ง เป็นต้น
๒. ศีล หมายถึง ความประพฤติดีงาม เป็นสุจริตธรรม ทั้ง ๑๐ ข้อนี้จะเห็นว่าไม่มีข้อใดเลยที่จะไม่ปรากฏอยู่ใน
มีความสงบร่มเย็น ส?ารวมกาย วาจาใจ จนเป็นที่เคารพนับถือ พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
ของประชาราษฎร์ มหาภูมิพลอดุลยเดชตลอดระยะรัชกาลอันยาวนานนับ ๗๐ ปี
20