Page 20 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 20

ทศพิธราชธรรมในข้อที่เรียกว่า มัทวะ หรือความสุภาพ      ภาพนี้นับเป็นภาพที่ประจักษ์กันทั่วไปในพระราชจริยวัตร
          อ่อนโยนจะหาไหนเท่าพระมหากษัตริย์พระองค์นี้ไม่ได้แล้ว ดังจะ  ที่อ่อนโยนมีเมตตาและมีไมตรียิ่งต่อเหล่าพสกนิกร พระบาทสมเด็จ
          เห็นได้จากภาพประวัติศาสตร์ที่ทรงโน้มพระองค์ไปรับดอกบัวกับ   พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรง
          หญิงชราคนหนึ่งที่จังหวัดนครพนมเมื่อกว่า ๖๐ ปีก่อน    ตั้งมั่นอยู่ในทศพิธราชธรรมตลอดมาอย่างแท้จริง






                           ค?าว่า ทศพิธราชธรรม หมายถึง ธรรม ๑๐ ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็น
                     หลักธรรมประจ?าพระองค์เป็นคุณธรรมของพระมหากษัตริย์หรือของผู้ปกครองบ้านเมืองมี ๑๐
                     อย่าง คือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะ มัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสา ขันติ อวิโรธนะ



               นักปราชญ์ว่าตามปกติพระมหากษัตริย์ไทยในระบอบ  แต่สมัยสุโขทัยจนสมัยอยุธยาและกรุงรัตนโกสินทร์ ถึงแม้ว่าในสมัย
          สมบูรณาญาสิทธิราชนั้น แม้ว่าจะอยู่เหนือกฎหมายแต่ส่วนใหญ่  อยุธยาจะรับเอาลัทธิเทวราชมาจากเขมรที่ว่าพระมหากษัตริย์คือ
          ก็อยู่ในกรอบแห่งราชธรรมทั้ง ๑๐ ประการนี้ ทั้งนี้เพื่อเป็น   เทพเจ้าองค์หนึ่ง แต่ก็ต้องทรงปฏิบัติพระองค์อยู่ใต้กฎหมายของ
          “พระธรรมราชา” ตามหลักพุทธศาสนา                      ธรรมศาสตร์นี้ทั้งที่เป็นเทวราช
               ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กล่าวถึงความเป็นมาของ      นั่นก็คือหน้าที่ที่พระมหากษัตริย์ต้องถือเอาความสุขของ
          ทศพิธราชธรรมหรือว่าหลักธรรม ๑๐ ประการนี้ว่ามาจากต?ารา ราษฎรเป็นใหญ่เหนือสิ่งใดทั้งสิ้น
          ธรรมศาสตร์ ที่อาศัยหลักธรรมจากศาสนาพุทธในการก?าหนด        “พระธรรมราชา” ในคติของศาสนาพุทธตามที่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์
          อ?านาจ และการปฏิบัติตนของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีมานานแล้ว  ปราโมช ได้กล่าวถึงไว้ก็คือ พระราชาหรือพระมหากษัตริย์ต้องถือ








































          18
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25