Page 67 - Culture3-2016
P. 67
ภาษาและหนงัสอื
มยรุีถาวรพฒัน์และบญัญตัิสาลีเรอื่ง
ยอด เนตรสวุ รรณ ภาพ
ภาษา
กยู /กวย
ขอื่เรียก
๑
ภาษากยู /กวย เปน็ ภาษาในตระกลู ออสโตร-
เอเชยี ตกิ สาขามอญ-เขมรสาขายอ่ ยกะตอุ คิ คนกลมุ่ น้ี
เรยี กตนเองวา่ กยู กยุ โกยหรอื กวยซงึ่ แตกตา่ งกนั ไป
ตามลกั ษณะการออกเสยี งของแตล่ ะถนิ่ แตค่ นภายนอก
มกั เรยี กวา่ สว่ ยเนอื่ งจากมขี อ้ สนั นษิ ฐานวา่ ชนกลมุ่ น้ี
ต้องส่งส่วยให้แก่ทางการไทยเป็นประจาต้ังแต่สมัย
รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้
ถิ่นฐานคนกูย / กวย
คนกูย/กวยส่วนใหญ่ตั้งถ่ินฐานอยู่ในพื้นท่ีลุ่ม
แม่น้าโขงและเทือกเขาพนมดงรัก บริเวณประเทศ
สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวราชอาณาจกั ร
กมั พชู า สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม และประเทศ
ไทยซงึ่ มชี าวกยู /กวยอาศยั อยใู่ นภาคอสี านหลายจงั หวดั
ไดแ้ ก่สรุ นิ ทร์บรุ รี มั ย์ศรสี ะเกษอบุ ลราชธานีเปน็ ตน้
ส่วนภาคกลาง-ตะวันออก ได้แก่ จังหวัดสระแก้ว
ฉะเชงิเทราและสพุรรณบรุี
ชาวกูย หรือ ชาวกวย มีวิถีชวี ติ ผกู พนั
กับช้างเสมอืนหน่ึงสมาชกิในครอบครัว
ภาษาที่พวกเขาใชจ้ึงมีหลายคาเฉพาะที่
เกยี่ วขอ้ งกบั การสอื่ สารกบั ชา้ ง จนบางครงั้ บทความนใี้ ช้คา ว่า กูย / กวย ตามความต้องการของเจ้าของภาษา
๑
ถูกเรียกว่า ภาษากวยบังคับชา้ ง
65
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๙