Page 71 - Culture2-2016
P. 71
“พบั สา” ในพิพธิ ภณั ฑพ์ นื้ ถนิ่ ลา้ นนา เมืองเชยี งใหม่ เหตทุ ี่เรยี กพับสา
เพราะทามาจากกระดาษสาหน้าแคบ แผ่นยาวๆ พบั ทบตามแนวขวาง
กลับไปกลับมา สมัยโบราณใช้ก้านของตน้ กูดซงึ่ เปน็ เฟริ ์นชนิดหนงึ่ จมุ่ น้าหมึก
เป็นอุปกรณ์ในการเขียนบันทกึ ปัจจบุนันยิมใชป้ากกาคอแรง้หรอืปากกาหมกึซึม
ศาสนาเช่นวรรณกรรมประโลมโลกต่างๆก็จะใช้อักษร พยญัชนะ๔๔ตัวเท่ากับพยญัชนะของอักษรไทยโดยตัวอักษร
ฝักขามและอักษรไทยนิเทศในการบันทึก อักษรธรรมล้านนา ที่สามารถเทียบกันได้ตัวต่อตัวมีถึง ๔๓ ตัว แต่อักษรธรรม
เก่าสุดเท่าท่ีพบในขณะน้ีคือจารึกลานทองสมเด็จพระมหา ล้านนาไม่มีตัวอกัษร<ฎ>ในขณะเดียวกันกม็ตีัวอกัษร<อย>
เถรจุฑามุณิ จารเม่ือ พ.ศ. ๑๙๑๙ พบท่ีวัดมหาธาตุ อาเภอ เพม่ิ เข้ามา เมอื่ รวมแล้วจงึ มจี า นวน ๔๔ ตวั พอดี ส่วนพยญั ชนะ
เมือง จังหวัดสุโขทัย ในจารึกลานทองใช้อักษรสุโขทัยเขียน ตัวเชิง หมายถึง ตัวอักษรท่ีใช้เขียนเพ่ือทา หน้าที่เป็นตัวสะกด
ภาษาไทยและใช้อกัษรธรรมล้านนาเขยีนภาษาบาลี
ตวัควบกลา้หรอืตวัตามในภาษาบาลีโดยจะเขยีนไวใ้ตพ้ยญัชนะ
ตัวเต็มหรอื ใต้สระจม มจี า นวน ๓๕ ตวั
รูปแบบและจานวน สระในอักษรธรรมล้านนามี ๒ ชนิด คือ สระลอยและ
ของอกัษรธรรมลา้นนา
สระจมสระลอยหมายถงึสระทส่ีามารถทาหน้าทเี่ป็นพยางค์
อักษรธรรมล้านนาแบ่งพยัญชนะออกเป็น ๒ ชุด คือ หรือคาได้โดยไม่ต้องประสมกับพยัญชนะ มีจานวน ๘ ตัว
พยญั ชนะตวั เตม็ และพยญั ชนะตวั เชงิ พยญั ชนะตวั เตม็ หมายถงึ สระจม หมายถึง สระท่ีใช้เขียนประสมกับพยัญชนะ เพ่ือใช้
พยัญชนะที่เขียนเต็มรูปใช้เขียนเมื่ออักษรตัวนั้นทาหน้าที่เป็น ประกอบคาหรือพยางค์มีทั้งสระเสียงส้นัและเสยีงยาวจานวน
พยัญชนะต้นหรือทาหน้าที่เป็นตัวสะกดในบรรทัดเดียวกันกับ ๒๙ ตัว เครื่องหมายวรรณยุกต์มี ๒ รปู คอื รูปเอก (ไม้เหยาะ)
พยัญชนะต้นพยญัชนะตัวเตม็ของอักษรธรรมล้านนามจีานวน
และรูปโท (ไม้ขอช้าง)
69
เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๙