Page 70 - Culture2-2016
P. 70









ต้นกาเนิดอักษรธรรมล้านนา


บรเิ วณพนื้ ที่ ๘ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบนของประเทศไทย 


ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง พะเยา แพร่ น่าน 

และแม่ฮ่องสอน เดิมเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา 


ปฐมกษัตริย์คือพญามังรายเป็นผู้สถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 

๑๘๓๙ โดยมีเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองหลวง ประชากรที่เป็น 

เจ้าของอาณาจกั รคอื ชาวไทยวนหรอื ชาวล้านนา เดมิ ทเี ดยี ว 


พญามังรายเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเงินยาง (เชียงแสน) 

ต่อมาทรงเห็นว่าอาณาจักรหริภุญชัย (ปัจจุบันคือจังหวัด 

ลา พนู ) อนั เปน็ อาณาจกั รของชาวมอญนนั้ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง 


แทบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และ 

โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นเศรษฐกจิ พญามงั ราย 


จึงทรงหาอุบายวิธีต่างๆ ที่จะเข้ายึดครองให้ได้จนกระทั่ง 

ทรงทาได้สาเร็จในปี พ.ศ. ๑๘๓๕

ชาวมอญแห่งอาณาจักรหริภุญชัยมีอักษรใช้เป็น 


ของตัวเองมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ แล้ว ดังพบ 

จารึกอักษรมอญโบราณในยุคดังกล่าวจานวนหลายหลัก 

รูปหล่อพระฤๅษีวัชมฤค สร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๑๔๗ ที่ฐานจารึกด้วยอักษร ในเขตจังหวัดลาพูนและเชียงใหม่ เชื่อว่าอักษรมอญ 
ธรรมล้านนา ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน

โบราณของอาณาจักรหริภุญชัยนี้น่าจะเป็นต้นแบบของ 

อักษรธรรมล้านนา เพราะอาณาจักรล้านนาได้เจริญขึ้น 

ในพื้นที่เดิมของอาณาจักรหริภุญชัย อีกทั้งอักษรมอญ 


โบราณและอกั ษรธรรมลา้นนากม็ รีปู แบบอกั ษรและอกั ขรวธิี 

คล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะอักษรธรรมล้านนาในยุคแรกๆ 


เช่น ในคัมภีร์ใบลานเรื่องกุสสราชชาดกของวัดไหล่หิน 

จังหวัดลาปาง จารขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๔ พบว่ามีรูปแบบ 

อักษรและอักขรวิธีคล้ายคลึงกับอักษรมอญโบราณเป็น 


อย่างมาก



ชื่อเรียกอักษรธรรมล้านนา


อกั ษรธรรมลา้ นนายงั มชี อื่ เรยี กอกี หลายชอื่ เชน่ ตวั เมอื ง 

ตัวธรรม อักษรไทยวน อักษรล้านนา อักษรไทยเหนือ และ 


อกั ษรพนื้ เมอื งลา้ นนาไทย แตใ่ นแวดวงผทู้ ศี่ กึ ษาอกั ษรโบราณ 

นิยมเรียกว่า “อกั ษรธรรมลา้ นนา” เพราะชาวล้านนาได้ 

เสื้อยันต์อักษรธรรมล้านนา ใช้อักษรชุดนี้สาหรับบันทึกหลักธรรมคาสอนและเรื่องราว 
ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน

ทางพระพุทธศาสนา ส่วนเรื่องราวอื่นๆ ที่มิใช่เรื่องทาง


68




   68   69   70   71   72