Page 69 - Culture2-2016
P. 69
ภาษาและหนงัสอื
ยทุ ธพรนาคสขุ
สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชยี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
ยอด เนตรสวุ รรณ, สายณั ห์ ชนื่ อดุ มสวสั ดิ์ ภาพ
เหล็กจารใช้สาหรับจารอักษรลงบนใบลาน คาว่า “จาร” หมายถึง การใช้เหล็กแหลม
เขียนลงบนใบลานหรือศิลาให้เป็นตัวหนังสือ
เชื่อ
ว่าท่านที่ได้มีโอกาสไปเยือนจังหวัดทาง
ภาคเหนือคงจะเคยสะดุดตากับตัวอักษรที่อยู่ตามป้าย
บอกสถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นศาสนสถาน สถานที่
ราชการหา้ งรา้ นหรอื แมแ้ ตบ่ า้ นเรอื นของเอกชนอยบู่ า้ ง
แน่นอนว่าทุกคนคงจะรู้จักตัวอักษรไทยและตัวอักษร
โรมนั หรอื ตวั ภาษาองั กฤษเปน็ อยา่ งดอี ยแู่ ลว้ แตอ่ กั ษร
อกี แบบหนงึ่ ซงึ่ มสี ณั ฐานกลมมนทอี่ ยใู่ นปา้ ยนนั้ อาจจะ
ไมค่ อ่ ยคนุ้ ตาเทา่ ใดนกั บางคนไพลค่ ดิ วา่ เปน็ อกั ษรมอญ
หรืออักษรพม่าไปก็มี จริงๆ แล้วอักษรชนิดนี้เรียกว่า
“อักษรธรรมล้านนา” ซึ่งใช้กันในอาณาจักรล้านนา
มามากกวา่ ๖๐๐ ปแี ลว้
คัมภีร์ใบลานซึ่งจารด้วยอักษรธรรมล้านนา สร้างขึ้นโดยการใช้เหล็กแหลม
หรือ ขีดลงบนใบลานให้เป็นร่องตัวอักษร จากนั้นใช้ลูกประคบ
“เหล็กจาร”
ชุบหมึกที่ทาจากเขม่าผสมน้ามันยางลบไปบนร่องอักษรที่ขีดไว้
หมึกสีดาก็จะฝังลงไปในร่องทาให้ตัวอักษรเด่นขึ้นมา
ส่วนหมึกที่เลอะนอกร่องตัวอักษรก็ใช้ผ้าเช็ดออกให้สะอาด
67
เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๙