Page 91 - Culture1-2016
P. 91







กระเบียดกระเสียรด้วยรายรับจากการขายเรื่องราว ๔๐ บาท 

ต่อเรื่อง เดือนหนึ่งๆ ขายได้เพียงสองสามเรื่องเท่านั้น


แตใ่ ชว่ า่ จะมเี พยี งเรอ่ื งรา้ ย ชว่ งเวลาทท่ี าํา งานหนงั สอื พมิ พ์ 

นี้เองที่ทําาให้บรรณาธิการหนุ่มได้พบรักแท้แห่งชีวิตกับเลขาฯ 


สาวแสนสวย สมใจ เศวตศลิ า ซงึ่ เรมิ่ ตน้ ผกู สมั พนั ธก์ นั แมจ้ ะ 

มีความแตกต่างทางฐานะที่ทําาให้รักของหนุ่มสาวเต็มไปด้วย 


อปุ สรรคราวกบั นวนยิ าย แตเ่ มอ่ื เขายนื ยนั ในความจรงิ ใจ ดอกฟา้ 

อยา่ งเธอจงึ โนม้ กงิ่ ลงมา และไดด้ แู ลกนั ในชว่ งที่ ส.อาสนจนิ ดา 

ตกอับและป่วยไข้ มีรายได้ลุ่มๆ ดอนๆ ต้องซมซานไปอาศัย 


วัดมหรรณพารามอยู่ หนุ่มสาวจึงได้ดูแลและเห็นน้ําาใจกันจน 

ทําาให้เป็นคู่ทุกข์คู่ยากกันตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา



เปดิ ประตสู ศู่ ลิ ปะการแสดง



หากจะกลา่ วถงึ ทกั ษะพเิ ศษของ ส.อาสนจนิ ดา แกน่ แท้ 

ของเขาคือการเป็น “นักเล่าเรื่อง” โดยเริ่มต้นจากการเป็น 

นักประพันธ์ผูกเรื่องราวเป็นนวนิยาย สู่การเป็นนักข่าวและ 

หนึ่งในบทบาทการแสดงจากภาพยนต์เรื่องขุนแผน ตอนปราบจระเข้ 
บรรณาธิการ ขับขานชีวิตจริงที่เปี่ยมไปด้วยสีสันในสังคม เถรขวาด (พ.ศ.๒๕๒๕) อยา่ งไรกด็ ภี าพยนตรท์ ส่ี รา้ งชอื่ ใหก้ บั ส.อาสนจนิ ดา 

และโดยทตี่ วั เขาเองมไิ ดค้ าดคดิ โอกาสในการเปน็ นกั เลา่ เรอื่ ง เป็นอย่างมาก เพราะทําารายได้สูงถึง ๑ ล้านบาท ซ่ึงถือว่ามากเป็น 

ประวัติการณ์ในวงการหนังไทยยุคน้ัน ได้แก่ เร่ือง “โบตั๋น” ที่ออกฉายใน 
ในอีกรูปแบบหนึ่งได้ผ่านเข้ามาในชีวิต นั่นคือเมื่อเพื่อน ปี ๒๔๙๘

นักเขียนคนหนึ่งชื่อ ศักดิ์เกษม หุตาคม หรือเป็นที่รู้จักใน 


นามปากกา “อิงอร” นักประพันธ์ที่ได้สมญานามว่าปลาย 

ปากกาจุ่มน้ําาผึ้ง ด้วยว่าผลิตนวนิยายสุขนาฏกรรมได้หวาน เพราะได้ต่อยอดสู่การเขียนบทละคร และซึมซับเทคนิค 


เคลบิเคลิม้ถกูใจผู้อ่านอิงอรไดต้ั้งคณะละครและหยบิเอาบท การแสดงตา่งๆไวอ้ยา่งรอบดา้นแตแ่ลว้ชะตาชวีติกลบัพลกิผนั 

ประพนั ธช์ อื่ “ดรรชนนี าง” มาทาํา เปน็ ละครเวที โดยชกั ชวนให้ อีกครั้ง โดยครั้งนี้เกิดจากบริบทภายนอก นั่นคือเมื่อถึงราว 

ส.อาสนจินดามารับบทเป็น“หม่อมเจ้านิรันดรฤ์ทธิ์ธาํารง” พ.ศ.๒๔๙๖ศาลาเฉลมิไทยถงึคราวทีต่อ้งปรบัเปลีย่นใหเ้ปน็ 


พระเอกของเรื่อง ในช่วงเวลาที่เขาตั้งใจจะไปบวชพอดี ชีวิต โรงภาพยนตร์ เพื่อรองรับมหรสพสาขาใหม่อย่างภาพยนตร์ที่ 

เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่อีกครั้ง เมื่อนักข่าวหัวเห็ด ไหลบา่ เขา้ มาจากตา่ งประเทศ นกั แสดงและบคุ ลากรในแวดวง 


ตัดสินใจรับงานแสดงครั้งนั้น “ดรรชนีนาง” จึงได้ฤกษ์เปิด ละครเวทีต่างรับรู้ถึงชะตากรรมเหล่านี้มาโดยตลอด และเริ่ม 

การแสดงใน พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นครั้งแรกที่ศาลาเฉลิมนครซึ่ง มองหาหนทางที่จะก้าวต่อไปในเส้นทางศิลปะการแสดง


เปน็ สว่ นหนงึ่ ของศาลาเฉลมิ ไทย ส.อาสนจนิ ดา จงึ ไดแ้ จง้ เกดิ นับเป็นโชคดีของ ส.อาสนจินดา เมื่อ อําานวย กลัสนิมิ 

ในฐานะพระเอกละครเวทีอย่างเต็มตัว
หรอื ทคี่ นในวงการรจู้ กั และยกยอ่ งทา่ นในนาม “ครเู นรมติ ” ผู้ 


รว่มสบิปหีลงัจากนนั้พระเอกละครหนมุ่ไดโ้ลดแลน่อยู่ กําากับภาพยนตร์ที่มีความสามารถรอบดา้นและผูบุ้กเบกิการ 

ในวงการอยา่ งครบวงจร ตงั้ แตเ่ ปน็ นกั แสดง แลว้ คอ่ ยๆ เขยบิ มา สร้างภาพยนตร์ไทยด้วยฟิล์ม ๑๖ มม. ได้ออกปากชักชวนให้ 

เปน็ ผเู้ ขยี นบทละคร จนกระทงั่ ไดก้ าํา กบั ละครเตม็ ตวั แนน่ อนวา่ ส.อาสนจินดา มาร่วมงานในภาพยนตร์เรื่อง “พี่ชาย” ในปี 


ทักษะด้านศิลปะการถ่ายทอดเรื่องราวของเขาจึงแก่กล้าขึ้น
พ.ศ. ๒๔๙๔ นนั่ คอื จดุ เรมิ่ ตน้ อนั ยงิ่ ใหญท่ ที่ าํา ให้ ส.อาสนจนิ ดา



89
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙ 



   89   90   91   92   93