Page 8 - Culture1-2016
P. 8


















































คําาว่า สวัสดี เพิ่งมาปรากฏในปทานุกรมฉบับกระทรวงธรรมการ ๑


เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ แต่ใช้ว่า “สวัสดิ์” มีคําาอธิบายว่า “ความสะดวก 

ความสุข ความสําาราญ โชค ลาภ เคราะห์ดี ความเจริญ









นอกจากการกราบไหว้อันเป็น ยงั ประชาชนทถี่ กู ชนชาตติ า่ํา ชา้ ปกครองมาแลว้ ใหส้ วา่ งรงุ่ เรอื ง 


การแสดงความออ่ นนอ้ มความเคารพ จริงอยู่พระองค์เป็นธรรมราชาเสมือนพระจันทร์ พระอาทิตย์ 

ทางกายแลว้ คนไทยยังมีการกล่าววาจา และกามเทพอย่างพร้อมบูรณ์ ทรงพระปรีชาฉลาดในราชนิติ 


อนั เปน็ สริ มิ งคลควบคกู่ นั มาอกี ดว้ ย วาจา
(รัฐประศาสนศาสตร์) เทียบเท่าพระเจ้าธรรมาโศก ทรงเป็นผู้ 

ที่เป็นมงคลก็คือคําาว่า “สวัสดี”
ยิ่งใหญ่เหนือราชวงศ์ทั้งหมด”


คาํา วา่ “สวสั ด”ี เปน็ คาํา เกา่ พบใน พระภัทรศีลสังวร เจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส จังหวัด 

ศิลาจารึกครั้งอาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) เมื่อ สงขลา ได้อธิบายความหมายของคําาว่าสวัสดีเพิ่มเติมว่า


กลียุคล่วงแล้วได้ ๔,๓๓๒ ปี ตรงกับ พ.ศ. ๑๗๗๓ อาจารย์
“สวสั ดีคาํา นเ้ีปน็ ประเภทโภวาทพี จน์คาํา กลา่ ววา่ ขอความ 

ร.ต.ท.แสง มนวิทูร ได้แปลไว้มีความว่า
เจริญจงมีแด่ท่าน และเป็นมุขพจน์คําาหน้าที่จะต้องพูดก่อน 

“สวัสดี พระผู้เป็นใหญ่ยิ่งในตามพรลิงค์ ทรงประทาน
คาํา อนื่ และเปน็ คาํา ใหศ้ ลี ใหพ้ รกลา่ วคาํา นอบนอ้ มในเหลา่ คนไทย 


ความดีงามอันเลิศเหมือนพระอินทร์ ทรงพระราชสมภพเพื่อ
ผู้ใหญ่กล่าวอําานวยพรให้เด็ก เด็กกล่าวนอบน้อมต่อผู้ใหญ่



6




   6   7   8   9   10