Page 10 - Culture1-2016
P. 10







“ด้วย ฯพณฯ ท่านนายกรัฐมนตรีได้พิจารณาเห็นว่า 

เพื่อเป็นการส่งเสริมเกียรติแก่ตนและแก่ชาติ ให้สมกับที่เรา 


ได้รับความยกย่องว่าคนไทยเป็นอารยชน คําาพูดจึงเป็น 

สิ่งหนึ่งที่แสดงภูมิของจิตใจว่าสูงต่ําาเพียงใด ฉะนั้นจึงมีคําาสั่ง 


ให้กําาชับบรรดาข้าราชการทุกคนกล่าวคําาว่า สวัสดี ต่อกัน 

ในโอกาสที่พบกันครั้งแรกของวัน เพื่อเป็นการผูกไมตรีต่อกัน 


และฝึกนิสัยให้กล่าวแต่คําาที่เป็นมงคล ว่าอะไรว่าตามกัน 

กับขอให้ข้าราชการช่วยแนะนําาแก่ผู้ที่อยู่ในครอบครัวของ 

ตนด้วย ให้รู้จักกล่าวคําาว่า สวัสดี เช่นเดียวกันด้วย”


คําาว่า “สวัสดี” จึงเป็นคําาทักทายและคําาอวยพร 

๑
ในโอกาสต่างๆ เช่นในวันขึ้นปีใหม่ที่เปลี่ยนมาใช้วันที่ 


๑ มกราคม ผู้คนก็จะร้องอวยพรกันว่า “สวัสดีปีใหม่” กัน 

ทั่วไป ทําาให้บรรยากาศในวันขึ้นปีใหม่คึกคักขึ้นเพราะบรรดา 


ในภาษาไทยใช้ว่า อรุณสวัสดิ์ และ หนุ่มสาวและนักเรียนร้องให้พรกันตลอดเวลาที่ได้พบกัน 

good night ภาษาไทยใช้ว่า ราตรีสวัสดิ์ นับว่าเพิ่มความสนุกรื่นเริงบันเทิงใจขึ้นอีกอย่างหนึ่ง ผู้เขียน 

ซึ่งคําาดังกล่าวมีผู้คัดค้านไม่เห็นด้วย ในเวลานั้นยังเป็นนักเรียนอยู่ชั้นมัธยมตอนปลาย ก็รู้สึกว่า 


ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงจึงขอให้ วันขึ้นปีใหม่ที่ร้องอวยพรให้กันว่า “สวัสดีปีใหม่” นั้นสนุกดี 

คณะกรรมการชําาระปทานุกรมของกระทรวง คือ กล่าวกับคนที่ไม่รู้จักกันก็ได้ เพราะถือเป็นความหวังดี 


ธรรมการในสมัยนั้นช่วยคิดหาคําามาใช้แทน คนรับก็พอใจร้องตอบว่า “สวัสดีปีใหม่” เช่นเดียวกัน 

คระกรรมการชําาระปทานุกรมได้เสนอให้ เป็นการสร้างมิตรภาพได้อย่างหนึ่ง


ใช้คําาว่า “สวัสดี” คือยืดเสียงให้ยาวกว่าคําาว่า “สวัสด”์ิ ก็
คนไทยนั้นเป็นคนรักสงบ เป็นมิตรกับทุกคน มีความ 

ตกลงใช้ตามนั้น
เป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ประกอบกับบ้านเมืองมีความอุดม 


ครั้นต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ พระยาอุปกิตศิลปสาร
สมบูรณ์มาแต่โบราณ จนมีคําากล่าวกันว่า “ในนํา้ามีปลา 

(นิ่ม กาญจนาชีวะ) ได้นําาคําาว่า “สวัสดี” ไปเผยแพร่ให้นิสิต ในนามีข้าว” มาแต่ครั้งกรุงสุโขทัย มีพระเจ้าแผ่นดินที่ 

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใช้เป็นคําาทักทายเมื่อพบกัน ซึ่ง ทรงดูแลทุกข์สุขของประชาชนแบบพ่อกับลูก ผู้คนพลเมือง 


เป็นเรื่องในหมู่คณะภายในมหาวิทยาลัยบุคคลภายนอกไม่ จงึ ไมม่ คี วามทกุ ข์ หนา้ ตายมิ้ แยม้ แจม่ ใสชนื่ บานกนั ทวั่ หนา้ ดงั 

ได้ใช้ด้วย
ที่ปรากฏในจารึกสมัยสุโขทัยว่า“ใครจักมกัเล่นเล่นใครจัก 


ต่อมาในสมัยจอมพลป.พิบูลสงครามเป็นนายก มกัหวัหวั”พดูตามสําานวนปัจจบุันกว็า่ใครจะเล่นสนุกสนาน

รฐั มนตรี มนี โยบายทจี่ ะสรา้ งชาตใิ หเ้ ปน็ อารยประเทศ จงึ แกไ้ ข 


เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในด้านต่างๆให้เหมาะสมทันสมัย ๑หญิงชาวนาร่าเริงยิม้แย้มในความอดุมสมบรูณ์ของแผ่นดนิ

เรียกว่าบําารุงวัฒนธรรมเพื่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศ ๒ จอมพลป.พิบลูสงครามขณะไปเยอืนนครนิวยอร์กสหรัฐอเมรกิาพร้อม
พันโทหญิงทา่นผ้หูญิงละเอียดพบิูลสงครามภริยาในปีพ.ศ.๒๔๙๘ 

และมคีวามเหน็ชอบกบัการใชค้าําวา่“สวสัด”ีเปน็คาําทกัทาย บันทึกไว้วา่การเปลยี่นแปลงทางวัฒนธรรมไทยมากมายเกิดขนึ้ระหว่าง 

ในโอกาสแรกที่พบกัน จึงมอบให้กรมโฆษณาการ (ต่อมา สมยัท่ที่านดาํารงตําาแหนง่นายกรฐัมนตรีซึ่งรวมถึงการเปล่ยีนช่อืประเทศ 
จาก สยาม เป็น ไทย ด้วย
เปลี่ยนเป็นกรมประชาสัมพันธ์)ออกข่าวประกาศเมื่อวันที่ 
๓ภาพบรรยากาศบ้านเมืองอันน่ารกัในยุคมาลานําาไทยสู่มหาอําานาจ 
ซึ่งเปน็สว่นหนง่ึของการสรา้งชาตดิว้ยวัฒนธรรมใหม่ระหว่างสมยั 
๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๖ มีข้อความดังต่อไปนี้
จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี


8




   8   9   10   11   12