Page 6 - Culture1-2016
P. 6
ลกั ษณะไทย
ส.พลายนอ้ ย เรอ่ื ง
ลกั ษณะไทย
ความงดงามแหง่ วถิ ชี น
วฒั นธรรม
เรอื่ งแรกทเี่ ดก็ ไทยไดร้ บั การสงั่ สอนจากพอ่ แมต่ งั้ แตย่ งั
ไรเ้ ดยี งสากค็ อื การไหว้ บางคนคงจะจา ไดเ้ มอื่ บดิ ามารดาพาไปพบผใู้ หญ่ เชน่ ปู่
ยา่ ตา ยาย กจ็ ะถกู จบั มอื พนมแลว้ บอกให้ “ธ”ุ คอื ยกมอื ไหว้ ฝา่ ยผใู้ หญก่ จ็ ะยนื่
มอื มารบั ไหวพ้ รอ้ มกบั กลา่ วคา วา่ “สาธุ บญุ รกั ษาเนอ้ ” แลว้ ใหพ้ รตา่ งๆ เดก็ ไทย
สมยั กอ่ นทกุ คนจงึ รจู้ กั การไหวม้ าตงั้ แตย่ งั ไรเ้ ดยี งสา
การไหว้ คือการยกสองมือพนม ต่อมาเมื่อเริ่มเรียนหนังสือก็ต้องกราบหนังสือ
ทุกครั้งก่อนจะเปิดอ่าน ตามประเพณีของนักเรียนทางภาคใต้ก็ทําาอย่างเดียวกัน แต่มี
คําาไหว้สวัสดีเพิ่มขึ้น
ถ้าจะถามว่าคนไทยรู้จักการไหว้มาแต่ครั้งใด คงตอบให้ชัดเจนไม่ได้ แต่ถ้าตอบ
ตามหลักฐานที่เคยเห็น ก็น่าจะมีมาแต่ครั้งไทยได้รับพระพุทธศาสนาเป็นต้นมา เพราะ
นกึ ไดว้ า่ เคยเหน็ รปู คนในแผน่ หนิ ชนวนทวี่ ดั ศรชี มุ จงั หวดั สโุ ขทยั และตกุ๊ ตาสงั คโลกเปน็
รูปผู้ชายนั่งพนมมือ แสดงว่าคนไทยรู้จักการไหว้มาช้านานแล้ว
การไหว้การกราบเป็นวัฒนธรรมของคนที่มีศรัทธาในศาสนา เป็นกิริยาของคนดี
กล่าวเฉพาะคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา การไหว้จึงเป็นวัฒนธรรมเบื้องต้นที่ต้อง
รู้จักและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด นอกจากนมัสการพระพุทธรูป พระธรรม พระสงฆ์แล้ว
ได้ปรับปรุงการไหว้ให้เป็นแบบแผนตามฐานะของบุคคลในภายหลัง ดังที่ได้ปฏิบัติสืบ
ต่อมาจนถึงปัจจุบัน
กลา่ วโดยสรปุ คนไทยไดร้ บั วฒั นธรรมการกราบไหวม้ าพรอ้ มกบั การนบั ถอื พระพทุ ธ
ศาสนาอย่างแน่นอน
(อดลุ ตันฑโกศยั ภาพ)
4