Page 9 - Culture1-2016
P. 9
จากหลานด้วยก็ได้ คุณตากล่าวตอบว่า สวัสดีพ่อศรีแก้ว
จะมุ่งหมายว่าขอให้หลานศรีแก้วจงประสบชัยสิทธีเถิด
ดังนี้ก็ได้”
สรปุ วา่ คาํา “สวสั ด”ี มใี ชม้ าแตโ่ บราณ ผคู้ นทางภาคใต้
นยิ มใชก้ นั มาก ดงั ปรากฏในคาํา ไหวค้ รทู เี่ รยี กวา่ คาํา ไหวส้ วสั ดี
จะขอคัดมาให้ดเูป็นตัวอย่างสักบทหนึ่ง (ตามต้นฉบับ)
“ศรศี รสี วสั ดขี า้ เจา้ เอย เชญิ มาสงิ ตวั ขา้ หรา
ขา้ นอ้ ยขอเรยี นอรรถ เรยี นทง้ั ตรสั ทง้ั คาถา
ศตั รอู ยา่ มมี า
จงวนิ าศวนิ ายสาย
สทิ ธจิ า เรญิ สขุ สรพทกุ ขจ์ งเหอื ดหาย
ลาภมาอยา่ ขาดสาย สรพชยั ประสทิ ธเิ ม
มอื ขา้ ทง้ั สบิ นว้ิ สอดหวา่ งคว้ิ บไ่ ดเ้ อ
นะโมพทุ ธาเย
ไหวย้ อยศพระศรอี ารยิ ์
ขา้ ไหวพ้ ระศรสี งฆ์
จติ จา นงไปนพิ พาน”
คําาว่า “สวัสดี” มิได้ใช้เฉพาะภาคใต้เท่านั้น ในศิลา
จารึกภาคเหนือและภาคอีสานก็มี เช่นในศิลาจารึกที่พะเยา
๒
หลัก ๑๐๕ ด้านที่ ๑ ศักราช ๘๖๕ (พ.ศ. ๒๐๔๖) ใช้ว่า
“ศรีสิทธิสวัสดี”ในศิลาจารึกวัดสันมะค่าจังหวัดลําาพูน
๑ลกัษณะเดน่ของคนไทยในสายตาชาวโลกคือความอ่อนน้อมและความ
ศรัทธาในพุทธศาสนาซ่งึมกัแสดงออกด้วยกิรยิาการไหว้พรอ้มสหีนา้
จ.ศ. ๘๖๙ (พ.ศ. ๒๐๕๐) ใช้ว่า “ศุภมตฺถสวัสดีศรีบพิตร
ย้ิมแย้มในหลากหลายวาระทางสงัคม
โคดม”และในศิลาจารึกวัดผดุงสุขโพนพิสัยจังหวัด
๒ชาวไทยมักยมิ้ทักทายดว้ยไมตรเีสมอต้งัแตว่ัยเยาว์เมือ่ได้พบปะผคู้นผ่าน
มาแม้แปลกหน้า
หนองคายจ.ศ.๙๓๒(พ.ศ.๒๑๑๓)ใช้คําาว่า“ศรสีวสัด”ี
นอกจากนี้ยังมีจารึกอีกหลายแห่งที่นิยมใช้คําาว่า “ศรี” และ
คาํา วา่ สวสั ดี มคี วามหมายวา่ กะไร? คําานมี้ คี วามหมาย “สวัสด”ี เป็นคําามงคลเมื่อขึ้นต้นข้อความในจารึก
ตามที่ใช้กันกว้างขวางมาก เป็นคําาพูดที่รวมความหมายถึง คําาว่า “สวัสดี” เพิ่งมาปรากฏในปทานุกรมฉบับ
คุณงามความดีอื่นๆ ไว้ในตัวของมัน เช่น ชัยสิทธิ์ ประสิทธี กระทรวงธรรมการ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ แต่ใช้ว่า “สวัสด์ิ” มีคําา
มงคลโชค ศุภผล ศิริปรีชา ธนลาภ เกียรติยศ อัครฐาน อธบิ ายวา่ “ความสะดวก ความสขุ ความสําาราญ โชค ลาภ
ตลอดถึง อายุ วัณโณ สุขัง พลัง ก็รวมอยู่ในตัวมัน สวัสดี เคราะหด์ ี ความเจรญิ (บางทีเขียนเป็นสวัสดีก็มี)”
เป็นสุขเป็นสุข เจริญรุ่งเรือง ขอท่านจงเป็นสุขเป็นสุขเถิด สรปุ วา่ คาํา วา่ “สวสั ด”ี แตเ่ ดมิ นยิ มใชเ้ ปน็ ภาษาหนงั สอื
ขอศภุ มงคลจงมแี ดท่ า่ นเถดิ ทา่ นจงสาํา เรจ็ ในสงิ่ ทปี่ รารถนาเถดิ ไม่ได้นําามาใช้เป็นคําาทักทายอย่างในปัจจุบัน ส่วนต้นเหตุ
ความนอบน้อมจงมีแด่ท่านเถิด อุปมาคําาสวัสดี เหมือน ทจี่ ะนาํา มาใชเ้ ปน็ คาํา ทกั ทายกนั นนั้ กเ็ นอื่ งมาจากเจา้ หนา้ ทวี่ ทิ ยุ
โภชนาหารประเภททิพยรสอันโอชะ ใครกินเข้าจะนึกให้มี กระจายเสียงสมัยแรกได้เริ่มใช้คําาว่า “ราตรีสวัสดิ”์ ลงท้าย
โอชะรสอย่างไรก็ได้ หลานยกมือไหว้คุณตากล่าวว่า สวัสดี คําาพูดเมื่อจบการกระจายเสียงตอนกลางคืน โดยอนุโลม
คุณตาครับ จะมุ่งหมายว่าขอคุณตาจงได้รับความเคารพ
ตามคาํา ทกั ทายและการลาของชาวยโุ รป ทใี่ ชว้ า่ good morning
7
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙