Page 70 - Culture1-2016
P. 70









ควายไทยมสี องสีคอื ควายสเีทาหรอื ดาํา และควายเผอื ก 


ซึ่งมีสีขาว สีของควายเป็นสีของผิวหนังและสีขน ส่วนขวัญ 

อันเป็นลักษณะประจําาตัวของควาย เห็นได้ตามส่วนต่างๆ 


ของรา่ งกาย มตี งั้ แต่ ๑-๙ ขวญั แตล่ ะตวั มจี าํา นวนและตาํา แหนง่ 

ขวัญไม่เท่ากัน พบมากที่หัวไหล่และซอกขา แต่ไม่ค่อยพบ 


แถวคอ หน้าอก และหน้าแง ในสมัยก่อนตําาแหน่งขวัญนั้นมี 

อทิ ธพิ ลตอ่ การซอื้ ขายควายของชาวบา้ นมากถอื เปน็ ความเชอื่ 

เรื่องโชคลาง


ควายเป็นสัตว์ที่มีความฉลาดเฉลียว ฝึกฝนการงาน 

ได้หลากประเภท ควายสามารถรับการฝึกเพียงครั้งเดียวเมื่อ 


อายุ ๒-๓ ปี โดยไม่ต้องมีการทบทวนบทเรียนอีก และใช้งาน 

ได้ยาวนานจนมีอายุมากกว่า ๑๕ ปีขึ้นไปจึงจะปลดงาน๑ 


เรียกได้ว่าฉลาดเรียนรู้และมีทักษะความจาํา เป็นเลิศ ต่อไปนี้ 

คงไมต่้องโกรธเคอืงกนัหากมใีครวา่กนัแบบนี้ชาวนาใชค้วาย 

เปน็ แรงงานสาํา คญั ในการเตรยี มดนิ ไถนาคราดนาการนวดขา้ ว 


ลากเกวียน ไถไร่ หรือไถวัชพืชระหว่างร่องสวน



คนกบั ควาย


จากความเชอื่ เรอื่ งขวญั และเพอื่ แสดงความกตญั ญตู อ่ 


สัตว์ผู้มีคุณ คนไทยถือว่าควายเป็นสัตว์ใหญ่และมีบุญคุณ พิธีสู่ขวัญควายนับเป็นภาพสะท้อนความสัมพันธ์ 

ที่ช่วยทําาไร่ไถนา จึงก่อเกิดเป็นประเพณีพิธีสู่ขวัญควาย ระหวา่ งคนกบั ควายทเี่ ปน็ ไปดว้ ยความออ่ นโยน เออื้ อาทรและ 


เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่คนและควาย ทั้งยังสื่อถึงความ รสู้ กึ สาํา นกึ ในบญุ คณุ ควาย ประเพณสี ขู่ วญั ควายจงึ เปน็ ประเพณี 

การุณย์ บททําาขวัญควายจึงสะท้อนความรู้สึกเมตตากรุณา ที่สมควรจะอนุรักษ์เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้เห็นภูมิปัญญา 

ต่อควาย ภูมิปัญญาอีกข้อที่แฝงไว้ในประเพณีสู่ขวัญควาย และจิตวิญญาณของบรรพชนไทย ปัจจุบันวิถีการทําานาได้ 


คือ ความสําานึกผิดที่เคยรุนแรงต่อควาย ในบททําาขวัญควาย เปลยี่ นแปลงไปควายมบี ทบาทนอ้ ยลงอยา่ งมาก มเี ทคโนโลยี 

ได้กล่าวว่าขณะที่ไถนาอยู่นั้นบางครั้งควายเดินช้าเพราะมัว อยา่งอนื่เขา้มาแทนทคี่วายพธิทีําาขวญัควายรวมถงึบทสขู่วญั 


กนิ หญา้ ตามคนั นา ชาวนาอาจฟาดตดี ว้ ยเชอื กหรอื ทมิ่ แทงดว้ ย ควายจึงเสี่ยงต่อการสูญหายและการสืบทอดในอนาคต

ปฏัก ควายได้รับความเจ็บปวดทรมาน ชาวนารู้สึกสาํา นึกผิด ควายยังนับเป็นทรัพย์สินมีชีวิต มีความสําาคัญใน 


จึงทําาพิธีบายศรีสู่ขวัญขอขมาวัวควาย นับเป็นคุณธรรม ฐานะที่เป็นหลักประกันความมั่นคงของครอบครัวชาวชนบท 

อนั ประเสรฐิ ในหวั ใจของชาวนา ในแงน่ พี้ ธิ สี ขู่ วญั ควายจงึ เปน็ มาช้านาน คนไทยในชนบทเลี้ยงควายด้วยวัตถุประสงค์เรื่อง 


พธิ ที มี่ นษุ ยข์ อขมาโทษ และปลอบขวญั ควายผเู้ ปน็ เพอื่ นทชี่ ว่ ย การออมเป็นหลัก หากมีความจําาเป็นจึงจะขาย โดยจะแบ่ง 

ทําางานหนักมาโดยตลอด โดยคําากล่าวในพิธีสู่ขวัญควายมี ขายเฉพาะลูกควายโดยเฉพาะตัวผู้ และเก็บแม่พันธุ์ไว้

ท่อนเรื่องการนําาหญ้าอ่อนอันหวานอร่อยมาให้ควายเคี้ยวกิน 


เป็นการให้รางวัลและขอขมาอีกด้วย
๑ จรญั จนั ทลกั ขณา. ๒๕๒๗. ควายในระบบไรน่ าไทย. ไทยวฒั นาพาณชิ . กรงุ เทพฯ. ๑๖๕ หนา้ .


68




   68   69   70   71   72