Page 68 - Culture1-2016
P. 68
คนไทยรู้จัก เรียนรู้ ถ่ายทอดวิถีการเลี้ยงและใช้ กับวิถีชีวิต เราใช้ควายเป็นแรงงานเพื่อการเกษตร การขนส่ง
ประโยชน์จากควายมาช้านาน กล่าวได้ว่า วัวควายเป็นสัตว์ และคมนาคม แม้แต่ในการสงครามก็ยังใช้ควายเป็นพาหนะ
คู่บ้านคู่เมืองของไทย ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ในการต่อสู้ข้าศึก จนอาจกล่าวได้ว่า “ควายคือชีวิตของ
(พ่อขุนรามคําาแหง) ที่กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “...เมืองสุโขทัยนี้ดี คนไทย”
ใครใครค่ า้ ชา้ งคา้ คา้ มา้ คา้ ใครใครค่ า้ ววั คา้ ควายคา้ ...” แสดง ในอดีตเรายกย่องควายว่าเป็นสัตว์ที่มีบุญคุณโดย
ให้เหน็ ว่าววั ควายเป็นสัตว์ที่มีความสําาคัญในการทําามาหากิน จะจัดพิธีทําาขวัญควายเพื่อแสดงความกตัญญู หลังเสร็จ
การคมนาคม และการค้าของคนไทยมาแต่อดีต นอกจากนี้ จากฤดูไถหว่านแล้ว แต่ปัจจุบันการทําาไร่นามีเครื่องทุ่นแรง
หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในดินแดนสุพรรณบุรี สมัย อย่างควายเหล็ก (รถไถ) มาแทนที่ควายจริงที่มีชีวิตจิตใจ
ทวารวดีซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอู่ทอง ราวพุทธศตวรรษ พิธีทําาขวัญควายจึงแทบหมดความสําาคัญ และจากครั้งอดีต
ที่ ๑๑-๑๖ หรือประมาณพันกว่าปีมาแล้ว บ่งบอกว่ามีการนําา ที่ชาวนามักเลี้ยงควายกระทั่งตายจาก โดยไม่มีการส่งเข้า
ควายมาใช้ไถนา ที่เรียกว่าวัฒนธรรมใช้ควายไถนา และเป็น โรงฆ่าสัตว์หรือเลี้ยงเพื่อการค้าเนื้อเช่นปัจจุบัน ทําาให้ควาย
สัตว์ที่สําาคัญในการบุกร้างถางพงเบิกพื้นที่นา โดยเฉพาะ ที่เคยทําาประโยชน์มาไม่น้อยกว่า ๒,๐๐๐ ปี ถูกแปรเปลี่ยน
ชาวนาไทยนั้นมีความผูกพันและชําานาญในการเลี้ยงดูวัว จากสตั วใ์ ชแ้ รงงานในทงุ่ นาและอยคู่ เู่ กยี รตชิ าวนามาเปน็ สตั ว์
ควายเป็นอย่างดี เพราะความเป็นเพื่อนที่คุ้นเคยและความ ใช้แรงงานเพียงอย่างเดียว ทําาให้คุณค่าของควายที่สําาคัญ
ใกล้ชิดของคนกับวัวควายที่เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตกันมาแต่ และยิ่งใหญ่มาแต่อดีตกาลนั้นใกล้สูญหาย และถูกปล่อย
ครั้งบรรพบุรุษ และเชื่อว่าควายมีบทบาทสําาคัญเกี่ยวข้อง
ทิ้งไว้บนท้องทุ่งอย่างไร้ความหมาย
6
66
6