Page 7 - CultureMag2015-3
P. 7

“ประเทศสยามนามประเทืองวา่ เมอื งทอง” หรือ ประเทศไทย ของคนไทยเราทงั้ หลายนน้ั  มปี ระวัตศิ าสตรก์ ารก่อรา่ ง

สรา้ งประเทศมานานนกั หนา คำ� วา่  “สยาม” อาจมปี ระวตั ศิ าสตรม์ านานกวา่ คำ� วา่  “ไทย”  ทค่ี ำ� วา่  “ประเทศไทย” หรอื  ไทยแลนด ์ นนั้  
เพงิ่ จะเรมิ่ ใชม้ าเมอ่ื  ๘๐ กวา่ ปที ผ่ี า่ นมา  มปี ระกาศรฐั นยิ มเปลยี่ นชอื่ ประเทศ โดยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ชดั เจน ในป ี พ.ศ. ๒๔๘๒ 
แต่ค�ำว่า “สยาม” ได้มีภาพจ�ำหลักหินนูนต�่ำท่ีปราสาทนครวัด  เมืองเสียมเรียบ ส่ิงมหัศจรรย์อย่างหน่ึงของโลก มีจารึกอักษร
โบราณระบุค�ำ “เสียมกุก” ไว้อย่างชัดเจน  ภาพจ�ำหลักนูนต่�ำทหารชาวเสียมท่ีแตกแถว พูดจาหยอกล้อกันสนุกสนาน แม้จะไป
ออกทำ� ศกึ สงครามหนา้ สว่ิ หนา้ ขวาน เหมอื นจะแสดงลกั ษณะเดน่ ของชาวเชอื้ ชาตนิ ไ้ี วอ้ ยา่ งชดั เจนวา่  “ตอ้ งใจมน่ั  ยม้ิ ไดเ้ มอ่ื ภยั มา...”

     ความเห็นที่มองต่างมุมกันของผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ชาติไทย ที่ระบุว่าการเร่ิมนับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติน้ัน
ควรเร่ิมต้นเม่ือมีบันทึกลายลักษณ์อักษรของคนไทย ซึ่งน่ันก็คือการมี “ภาษาไทย” เกิดขึ้นเม่ือประมาณปี พ.ศ. ๑๘๒๖  “พ่อขุน
รามคำ� แหงหาใครใ่ จในใจ แลใส่ลายสอื ไทน ้ี   ลายสือไทนี้จงึ่ มเี พอ่ื พอ่ ขุนผูน้ ้นั ใส่ไว้...” ตามศลิ าจารึกหลกั ท่ ี ๑ พอ่ ขนุ รามค�ำแหง
มหาราช  

     กับความเห็นต่างว่าจะวางเฉยกับประวัติศาสตร์ในยุคก่อนสุโขทัยไปได้อย่างไร  ผู้คนใน สมัยลพบุรี สมัยทวารวดี น้ัน 
กไ็ มน่ า่ จะอพยพโยกยา้ ยมาจากไหน  หรอื อยา่ งคนทน่ี อนสบายๆ อยใู่ นหลมุ  พรอ้ มกบั หมอ้  ไห และของใช ้  ในอารยธรรมระดบั โลก 
อยา่ ง อารยธรรมบา้ นเชยี ง นนั้ เลา่  พวกเขาเหลา่ นน้ั นอนสบายอยใู่ นดนิ แดนประเทศไทยเลก็ ๆ ทใ่ี นวนั นเี้ รยี กวา่ จงั หวดั อดุ รธานี
ซง่ึ นนั่ กเ็ ปน็ ดนิ แดนของเราแท้ๆ จะไมน่ บั พวกเขาเหลา่ นเ้ี ข้าไวใ้ นประวัตศิ าสตร์ชาติไทยหรอื อย่างไร ?

     ตราบใดที่ความเห็นต่างดังนี้ยังมีอยู่ในสังคมไทยก็จะยิ่งเป็นแรงผลักดันให้การศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ของชาติไทย 
ยิ่งก้าวหน้า  ดังน้ันเอาความเห็นต่างดังกล่าวมาวางไว้แค่ตรงที่ ประเทศไทย ได้มีการก่อร่างสร้างชาติมาแล้วอย่างยาวนาน 
นับพันปีกนั ดกี ว่า  แล้วกว็ า่ ด้วยเรื่อง เสนห่ ไ์ ทยในเวทโี ลก ของเรากันต่อไป

                                                                                     ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 5
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12